Thursday, February 28, 2019

Systems Thinking for Social Change : A Practical Guide - Chapter 7

Systems Thinking for Social Change : A Practical Guide


Chapter 7 : Facing Current Reality Building Understanding Through Systems Mapping


การใช้ วิธีการเล่าเรื่อง เพื่อที่จะทำให้เราเข้าใจ ปัญหา หรือ ระบบ ที่เราอยู่มากขึ้น


การที่เราจะเข้าใจ สถานการณ์ของปัญหาหรือระบบ ที่เราอยู่มากขึ้น เราสามารถทำได้โดยการ ทำ สาม อย่างต่อไปนี้
1.กำหนด บุคคล ที่เราจะไปหาข้อมูล (เช่น โดยการสัมภาษณ์ หรือ ไปหาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ คนๆนั้นที่ ได้มีการทำต่อ ระบบ ที่สนใจ)     แล้ว จึงทำการ  ออกแบบ คำถาม หรือ สิ่งที่ต้องการรู้ จาก คนเหล่านั้น  แล้วจึงไปทำการเก็บข้อมูล

2.หลังจาก ที่ ได้ทำการเก็บข้อมูลมาแล้ว จึง ทำการจัดกลุ่มของข้อมูลที่เก็บมา   ทำการหา จุดที่น่าสนใจ  และ ทำการกำหนดตัวแปร ออกมา

3.ทำการวิเคราะห์ปัญหา หรือระบบ ที่สนใจเบื้องต้น เพื่อที่จะดูว่า  ปัจจัย หรือ ตัวแปรในระบบ ที่มีอยู่นั้น มีความสัมพันธ์ ต่อกัน อย่างไร ในระยะเวลา ที่ผ่านมา จึงทำให้ เกิดปัญหา ที่เราสนใจเกิดขึ้น





การกำหนด บุคคล ที่ จะไปเก็บข้อมูล   คุณสมบัติของ คน ที่เราจะไปเก็บข้อมูลมา (สัมภาษณ์ หรือ คุยเพื่อหาข้อมูล)  ควรจะเป็นดังนี้
1.ผู้นำ ที่ มีความรับผิดชอบ ต่อ สภาวะความเป็นอยู่ของ สังคม หรือ กลุ่ม หรือ องค์กร ที่เรา สนใจ  ซึ่ง อาาจะเป็น ผู้นำทางความคิด ที่ มีฐานะทางสัมคมชัดเจน หรือ ไม่ชัดเจน ก็ได้    หรือ อาจจะเป็นตัวแทนจาก ภาครัฐหรือองค์กรท้องถิ่น  หรือ เป็นผู้นำในองค์กรเอกชน หรือ ภาคสังคม  อันนี้ขึ้นกับ ปัญหาและบริบทขององค์กร ที่ สนใจ
2.คนที่มี ความสามารถในการกำหนดนโยบาย หรือ ให้การสนับสนุนหลัก ที่ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในระบบ หรือ ปัญหา ที่สนใจได้
3.คนที่ มีหน้าที่หลัก ในการแก้ปัญหานั้นๆ
4.ผู้ที่ ได้รับผลจากการมีอยู่ของปัญหานั้นๆ และ จะได้รับผลโดยตรงจากการแก้ปัญหา


การกำหนด จำนวน ของ ผู้ที่ต้องการไปเก็บข้อมูล  
 เนื่องจาก เราต้องการแก้ปัญหา ที่มีความซับซ้อน ที่ ไม่สามารถใช้วิธี การวิจัย หรือ วิธีแก้ปัญหาทั่วไป ในการจัดการได้   เราจึง ต้องการทำการ สัมภาษณ์ เพื่อเก็บข้อมูลมากกว่า การให้ แบบสอบถาม ให้ ตอบกลับมา เพราะการสัมภาษณ์ จะทำให้ได้รับข้อมูลเชิงลึกมากกว่า

ดังนั้น การเลือก จำนวนของกลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บข้อมูล จึงมีความสำคัญ     หลักการทั่วไป จะทำการแบ่ง ประชากร เป็นกลุ่มๆ ตาม คุณสมบัติข้างต้น  แล้วจึง ทำการเลือก กลุ่มตัวอย่างจากแต่ละกลุ่ม ที่มีขนาด 30% ของจำนวนประชากรของแต่ละกลุ่ม  แต่หาก กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย คนแค่ สองคน  หรือ แค่คนเดียว ก็ให้เลือก สัมภาษณ์ทั้งหมดที่มีอยู่


การกำหนดคำถาม หรือ สิ่งที่ต้องการรู้ จากการเก็บข้อมูล   ข้างล่างนี้ เป็นตัวอย่างของ หัวข้อ ที่ควรหาคำตอบมา เพื่อที่จะทำให้เรา เข้าใจภาพรวมหรือสถานการณ์ในปัจจุบัน ของ ปัญหา หรือ ระบบ ที่เราสนใจ

1.ให้ลองพิจารณา ถึง เหตุการณ์ หรือ อะไรก็ตามที่เกิดขึ้น ที่เกี่ยวกับปัญหา หรือ ระบบที่สนใจ จากอดีต (ย้อนหลังไป จนถึง ช่วงที่ ก่อนที่ปัญหาที่เราสนใจ เริ่มเกิดขึ้น) จนถึง ปัจจุบัน   จากนั้น ลองดูว่า  จากสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมด มี รูปแบบ หรือ โครงสร้างความสัมพันธ์ หรือ รูปแบบการตัดสินใจ อะไร ที่ เราสามารถสังเกตุเห็นได้ไหม

2.ในกรณี ที่เราสามารถสังเกตุเห็นรูปแบบ อะไรก็ตาม จากเรื่องที่เราสนใจ  ให้ลองพิจารณาว่า รูปแบบที่สังเกตุเห็นนั้น มี ลักษณะดังต่อไปนี้ไหม
การเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นๆลงๆ เป็น ช่วงๆ
การเปลี่ยนแปลง เป็นรูป ตัว S (การเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นในช่วงเริ่มต้น แล้วจึง หยุดการเพิ่มระยะหนึ่ง จากนั้นจึง เพิ่มขึ้นอีกครั้ง)
การเปลี่ยนแปลง ที่ เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว อย่างต่อเนื่อง
การที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
การที่มีการเปลี่ยนแปลงโดยการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แล้วจึง ลดลง ทันที

3.เขียน อธิบาย ปัญหา ที่ สนใจ โดย ใช้ คำถาม “ทำไม” ดังต้วอย่างข้างล่าง
ทำไม จำนวนกวางถึงยังลดลง ทั้งๆที่ เราได้ ลดจำนวน สัตว์ผู้ล่า ในบริเวณนั้นแล้ว

4.อธิบายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นมา ก่อน ปัญหา ที่สนใจนี้ จะเกิดขึ้น (ถ้ามี ให้อธิบายความพยายามที่จะแก้ปัญหา ในอดีต มาด้วย โดยให้บอกว่า ทำอะไร  ใครทำ และ ผลออกมาเป็นอย่างไร)

5..ในปัญหา หรือ ระบบที่สนใจ   ผู้ที่ได้รับผล ทำอย่างไร เพื่อให้ สามารถดำเนินงาน หรือ อยู่กับปัญหานี้ได้   

6.ในมุมมอง ของผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจ เพื่อ แก้ปัญหานี้   มุมมองของเขาต่อปัญหานี้เป็นอย่างไร   เขาเห็นปัจจัยอะไรบ้างในปัญหานี้ 

7.ในมุมมอง ของ บุคคลอื่นๆ รวมถึง คนที่ได้รับผลโดยตรง หรือ โดยอ้อม จากปัญหานี้ มุมมอง ความคิด ของพวกเขากับปัญหานี้เป็นอย่างไร   ปัจจัยอะไร ที่มีความสัมคัญต่อพวกเขา 

8.ปัญหานี้ ส่งผลโดยตรง ให้ เกิดอะไรบ้าง  และ โดยอ้อม ให้เกิดอะไรบ้าง

9.ส่วนไหนของปัญหานี้ ที่ เกิดมาจาก องค์กร หรือ ชุมชน ของเรา หรือ ที่องค์กรของเราสามารถจัดการได้ด้วยตัวเอง    ส่วนไหนของปัญหา ที่ ตัวเราเอง สามารถจัดได้ ด้วยตัวเอง

10.ตัวเราเอง หรือ ตัวองค์กรของเรา นั้น ได้มีส่วน ที่ทำให้เกิด หรือ ส่งเสริม ปัญหาที่สนใจนี้ อย่างไรบ้าง ในด้านใดบ้าง   ผ่าน  การพูด   การทำอะไรก็ตาม หรือ การคิด

11.เป้าหมายของระบบที่ สนใจ หรือ ผลลัพธ์ที่จะได้จากการแก้ปัญหาที่สนใจ คืออะไร    สิ่งนี้  เป็น สิ่งที่ คนที่เกี่ยวข้อง ต้องการจริงหรือไม่    หากไม่ใช่  แล้ว มันต่างกันอย่างไร




การวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้เก็บมา เพื่อหารูปแบบ ในกลุ่มข้อมูล
(ผลที่ได้ คือ ตัวแปร ของปัญหานั้นๆ  และจุดที่น่าสนใจ ในปัญหา)

1.ให้พิจารณาหา สิ่งที่ น่าสงสัย  สิ่งที่ดูสับสน  และ หรือ ข้อมูลที่ดูขัดแย้งกัน จากข้อมูลที่ได้จาก ผู้ที่ถูกสัมภาษณ์ คนละคนกัน


2.ให้พยายามดู สิ่งเห็นได้จาก การวัดตัวแปรที่เก็บเป็นค่า ที่วัดได้   กับ สิ่งที่คนที่เกี่ยวข้องกับปัญหา เข้าใจ  ว่าตรงกัน หรือ แตกต่างกันอย่างไร

3.ให้ทำการ มองหา ตัวแปรหลัก ซึ่ง จะเป็นปัจจัยหลักต่อ ความสำเร็จของระบบ หรือ เป็นปัจจัยหลักในการแก้ปัญหา

4.ให้มองหาความสัมพันธ์หลัก ของ ตัวแปรต่างใน เรื่องที่ ได้มา












Wednesday, February 20, 2019

XLINKS - System supporting individual learning

MIT Crosslinks

=> System supporting individual learning developed at MIT by MIT students (similar to Wikipedia but it purely contains the academic topics/ subjects being taught/ learned at MIT or high education institution

IDEA : This structure of skills or knowledge or capability relationship could be applied in staff development or business management to allow better efficiency in execution ( increased learning rate or execution rate or adaption rate)

Raspberry Pi - Reset and Shutdown switches

source:   http://www.raspberry-pi-geek.com/Archive/2013/01/Adding-an-On-Off-switch-to-your-Raspberry-Pi


source:  http://lifehacker.com/easily-add-a-shutdown-switch-to-a-raspberry-pi-1706950870

NCON - Feb 23 24 meeting - drafted topic for discussion

1.Review: Task done in the previous meeting
-Each site expressed interests to conduct own study in the area of interest : But not have solid topic to study yet
-Need for Topic development was identified
-Help provided to let each site make decision on which topic is worth studying
-Story delineating what important to each site and why it is worth putting effort to study
-Later the story was analyzed and feedback was provided and each site was asked to review the feedback to make decision what to do next (including the note the questions and comments regarding the provided feedback)

2.Expectation in today meeting
-Identify possible Topic for conducting in-depth study at each site , e.g.,Each site makes decision what to do to move forward OR developing shared visions to guide action plan

3.Mirroring : Presenting analysis from given stories to members
-Presenting the analysis to members

4.Questions & Clarifications

5.Identify additional idea or interest from members from listening the discussions
Ask for ideas, comments, and additional interest from members from listening through the discussions

6.Members make decisions what to do next
Options:
1.To draft plan for continuing the study
2.To develop the project management structure of the group : Support the work and Provide helps necessary
(from lessons learned from Thai.Con. , lacking the tangible supportive structure from central coordinator inhibits the progress from the members)
3.Provide necessary knowledge to members to get them ready to move on in the task each wants to do : e.g., school - Curriculum development,  community - Management guideline
(Need to ask someone who has experiences with curriculum or classroom development to share experiences and knowledge and then the group discusses what good and what bad
-> Make a summary the key principles and the operational framework of how to develop curriculum or design the classroom
OR share experience in designing the management structure to manage project, to communicate with stakeholders for attracting engagement, and to develop new generations to take the future roles
->Make a summary of key principles and the operational framework.)





Progress
บ้าน สามขา
จากการใช้เครื่องมือ
1.Stakeholder analysis => เพื่อทำความเข้าใจของความสัมพันธ์ระหว่างผู้เล่นในระบบ  เช่น แรงจูงใจในการทำงาน  แต่ละคนทำให้ระบบเปลี่ยนแปลงได้หรือส่งผลต่อองค์ประกอบอื่นๆได้อย่างไร   ทำให้เข้าใจถึงความสามารถของ Change agent ในการเปลี่ยนแปลงระบบ (Sphere of Influence)
2.Causal diagram => ทำให้เห็น ภาพของปัญหา ในปัจจุบัน และ ภาพของระบบเมื่อมีการเพิ่มกลไกหรือลดกลไก เพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ

Progress
1.ได้มีการทำการเก็บข้อมูลเบื้องต้น จากการ คุยกันในกลุ่มผู้นำ และ กลุ่มชาวบ้าน (ได้ข้อมูลคร่าวๆ ในวงกว้าง)
2.มีการทำการวิเคราะห์เบื้องต้น เพื่อ ทำการกำหนดหัวข้อเพื่อทำการศึกษาเชิงลึก ต่อไป
สรุป
-ได้ รายชื่อ กลุ่มของผู้เล่นที่เกี่ยวข้องกับปัญหานี้
-ได้สมมติฐาน ว่า  ปัญหาในการพัฒนาและแก้ปัญหาชุมชน ที่มาจาก การขาดการมีส่วนร่วม  เป็นผลมาจาก การจัดการที่ไม่มีประสิทธิภาพในการทำงานของชุมชน
-ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง อ่าน พิจารณา ผลการวิเคราะห์ เพื่อ ตั้งคำถาม และ ให้ความเห็น เพื่อ นำมาใช้ในการวางแผนการทำการศึกษาเชิงลึกต่อไป

Next Task
1.บ้านสาม ขา ทำการตัดสินใจ ในการทำงาน ต่อไป ว่าจะทำอะไร

Possible Task
1.ทำการวิเคราะห์ข้อมูลอีกครั้ง (จากข้อมูลเพิ่มเติม ในการเจอกันในวงล่าสุดของผู้นำ)
เพื่อ สรุป สมมติฐาน และทำการวางแผนเพื่อทดสอบสมมติฐานนี้ต่อไป
1.1 ทำวิเคราห์ข้อมูล เบื้องต้น เพื่อสรุป Design ของการบริหารงาน ใน ปัจจุบัน -> Current management operation design กำหนด Design principles ออกมา ในการทำงานพัฒนาชุมชน ที่ บ้านสามขา นี้
1.2 ทำการ วิเคราะห์ หาปัจจัยที่ เชื่อมโยง กับ ปัญหา การขาดการมีส่วนร่วม -> Current management operation design vs. Engagement
1.3 ทำการวิเคราะห์ หา ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัญหาในการพัฒนาและแก้ปัญหาชุมชน กับ ปัจจัยการมีส่วนร่วม  -> Community development problem vs. Engagement
2.ทำการสรุป เป้าหมาย เพื่อทำการ วางแผนการหาข้อมูลเพิ่มเติม ในการทดสอบ สมมติฐาน
3.ทำการวางแผนงาน
3.1 กำหนดทีมงาน
3.2 ระยะเวลาการทำงาน
3.3 วิธีการทำงาน และ รายละเอียด รวมทั้ง เป้าหมาย และ การติดตามความก้าวหน้า
3.4 ...
4.เก็บข้อมูล - In-depth interviews of selected stakeholders
5.วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อ ทำงานขั้นต่อไป
 ....
Expected output:
1.Validated current design of task management structure -> Design principles
2.Confirmed assumption
3.Tested assumption and summary of analysis
4.Recommended modification of the current management structure or other actions for improvement
5.New design  <- Design principles



School
Reference:

Chee-Kit Looi et al, Implementation Mobile Learning Curricula in a Grade Level: Empirical Study of LEarning Effectiveness at Scale  => Curriculum development with design research

Collins, A. et al, Design Research : Theoretical and Methodological Issues  => Curriculum development with design research

Sun, D. et al, The Innovative Immersion of Mobile Learning into Science Curriculum in Singapore: an Exploratory Study  => Curriculum development with design research

Panuel, W.R et al, Designing formative assessment software with teachers an analysis of the co-design process => Roles of researcher and teacher in co-design process (research)

Zhang, B.H. et al, Deconstructign and reconstructing : transforming primary science learning via a mobilized curriculum => Curriculum development with design research

สุวิมล ว่องวานิช, การออกแบบการวิจัยอิงการออกแบบ => หลักการ Design research



Co-design research :
Role of researcher
1.Reflect teacher designs and plans by using expertise or outsider perspective/ information to inform decision  =>  Process of Abstraction
2.Support in research or operation framework and inquiry/ data collection
3.Question the operation/ analysis which would arrive at the insight used in decision making





Sunday, February 10, 2019

[NCON] กรณีโรงเรียนบ้านสันกำแพง rev.1 02112019

ผมอธิบายบทวิเคราะห์ ไว้ใน VDO clip แล้ว Upload ไปบน Youtube นะครับ
ไปฟังคำอธิบายได้ ตาม LINK นี้นะครับ
คำอธิบาย กรณีบ้านสันกำแพง



Goal: หาหัวข้อ หรือ ทิศทาง ที่เป็นไปได้ ในการทำการศึกษาเชิงลึก


Input: Reflection note จากคุณครู

ข้อมูลดิบ -  022019 - เอกสารข้อมูลดิบ


Output: ความเข้าใจเบื้องต้น ต่อ สถานการณ์  + คำถาม + ความเป็นไปได้ในการทำการศึกษาเชิงลึก + ทิศทางการทำการศึกษาเชิงลึก



1.ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จาก Input

ปัจจัยที่ผมเห็นมีดังนี้ครับ
-การปฏิรูปการศึกษา
-การอบรมเพิ่มความรู้ใหม่ ตามหลัก Constructionism
-การพัฒนาหลักการ 5S + Best Practices
-การสนับสนุนจาก พัมธมิตร
-ครูผู้ช่วย
-จำนวนครูต่อห้อง
-ความพึงพอใจของผู้ปกครอง
-ครูเครือข่ายที่มีความสนใจ
-กิจกรรมบูรณาการ PBL
-OLPC
-ความเข้าใจในหลักการ Constructionism
-ประสบการณ์ของครู
-ผู้บริหาร
-ศักยภาพของนักเรียน
-คุณภาพ มาตรฐาน
-การเปลี่ยนนโยบาย
-การสนับสนุนจากผู้บริหาร


2.จากข้อมูลข้างต้น เราจะพยายามหาความสัมพันธ์ของ ส่วนต่างๆ ได้ ตามรูปข้างล่าง




เราสามารถหาความสัมพันธ์ ของคนที่เกี่ยวข้องได้ ดังนี้





3.จาก ความเห็น  ที่แสดงไว้ใน เอกสาร  คุณครูเสนอว่า ต้องการหาข้อมูล Feedback จากผู้ปกครอง ต่อ การจัดการสอน 5S ของโรงเรียน เพื่อนำมาปรับปรุง การทำงาน และ หลักสูตร

ซึ่งจาก ข้อมูล ในข้อ 1  เราสามารถ สร้างระบบใหม่ตามความเข้าใจได้ดังนี้


สรุปการวิเคราะห์
1.ปัญหา การขาดการเก็บข้อมูล ความเห็น ความคาดหวัง จากผู้ที่เกี่ยวข้อง ทำให้ การพัฒนาหลักสูตร ที่ โรงเรียน ไม่ส่งผลให้เห็นชัด ทำให้ ความเชื่อมั่นผู้ที่เกี่ยวข้อง ลดลง
2.ปัจจัย ที่ เป็นหลักในการทำให้ ความเข้าใจ  ความเชื่อมั่น ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
3.จากกรอบ ขอบเขต การทำงานของคุณครู สิ่งที่จะทำได้ ในขอบเขตของตัวเอง คือ การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ มารวมกัว ข้อมูล ที่พอจะหาได้ ที่เกี่ยวข้องกับ นักเรียนทั้งในอดีตและปัจจุบัน เพื่อนำมา สรุปหาทางปรับปรุงหลักสูตร
4.ข้อมูลที่ให้มา มีช่องว่าง มากพอสมควร ซึ่ง อาจจะทำให้ ทิศทางการ ทำการศึกษาเชิงลึก เปลี่ยนไปได้


ข้อเสนอ
1.ให้ลองตัดสินใจ ว่า  ควรทำการ ศึกษาเชิงลึก ถึง หลักสูตร 5S ที่กำลังใช้ก่อนหรือไม่ เพื่อ ให้เข้าใจว่า  ปัจจัยหลักๆ ของหลักสูตรคืออะไร และ เป้าหมายของการทำกิจกรรม หรือ สร้างบทเรียนบนปัจจัยนั้นๆ มีความคาดหวังจะเห็นอะไร แล้วได้เห็นจริงๆไหม  เพื่อเป็น พื้นฐาน ให้เราเข้าใจ หลักสูตรที่เรากำลังใช้อยู่ก่อน แล้วจึงไป ทำการศึกษา ผลจากปัจจัยที่ไกลออกไป เช่น ความเห็นของผู้ปกครอง ดังที่ เสนอมา


อาจต้องลอง หาข้อมูล เพิ่มเช่น




หรือ

2. หาก  ต้องการทำการ ศึกษาดังที่เสนอมา  ก็จะเป็นการทำการศึกษา โดยอิงหลักการ  วิจัยอิงการออกแบบ
(อ่านรายละเอียด  หลักการ  วิจัยอิงการออกแบบ (Design Based Research) ได้ที่เอกสารนี้ ในหน้าที่ 59-70     เอกสารประชุมวิชาการ การวัดผล ประเมินผลและวิจัยสัมพันธ์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 26   )





บทความที่เกี่ยวข้อง (ใช้เป็นแนวทางในหาวิธีในการ ทำการศึกษาเชิงลึก)

การวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาผ่านการเรียนรู้

(ให้ดูวิธีการทำ และ เป้าหมายว่าทำเพื่ออะไร แล้ว ดูว่า ตรงกับที่เราอยากจะทำหรือไม่)


ควรทำอะไรต่อๆไป
1.ควรทำความเข้าใจสถานการณ์ของตัวเอง จากมุมมอง ที่ผมเสนอ มาข้างต้น (ซึ่งอาจจะไม่ถูก หรือ อาจจะให้มุมมองอะไรเพิ่มเติม)
2.ตั้งคำถามเพิ่ม
3.ตัดสินใจถึง ทิศทาง ในการทำการศึกษาเชิงลึก
4. หากการตัดสินใจ คือ ต้องการทำการศึกษาเชิงลึก ให้หาบทความที่เกี่ยวข้อง เพื่อ นำมาออกแบบการศึกษาที่จะทำ ( บทความข้างบน ใช้เป็นแนวทางได้  แต่ต้องหาเพิ่ม เพื่อเพิ่มความเข้าใจของตัวเอง)





รบกวน ให้ความเห็น หรือ คำถามที่มี จากการอ่าน บทวิเคราะห์นี้ ในช่อง Comment  ด้านล่างนะครับ  จะได้แบ่งให้คนอื่นๆ อ่านด้วยครับ

[NCON] กรณีโรงเรียนบ้านสามขา rev.1 02112019

ผมอธิบายบทวิเคราะห์ ไว้ใน VDO clip แล้ว Upload ไปบน Youtube นะครับ
ไปฟังคำอธิบายได้ ตาม LINK นี้นะครับ
คำอธิบาย กรณีโรงเรียนบ้านสามขา


Goal: หาหัวข้อ หรือ ทิศทาง ที่เป็นไปได้ ในการทำการศึกษาเชิงลึก


Input: Reflection note จากคุณครู

ข้อมูลดิบ -  022019 - เอกสารข้อมูลดิบ




Output: ความเข้าใจเบื้องต้น ต่อ สถานการณ์  + คำถาม + ความเป็นไปได้ในการทำการศึกษาเชิงลึก + ทิศทางการทำการศึกษาเชิงลึก



1.ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จาก Input

ปัจจัยที่ผมเห็นมีดังนี้ครับ
-การท่องเที่ยวชุมชน ทางวัฒนธรรม และ ทางธรรมชาติ
-รายได้เสริม
-ของป่า + อาหาร ตามฤดูกาล
-ธุรกิจการส่งออกเห็ดแดงหลวง
-สินค้าเศรษฐกิจ
-โรงเรียนที่ได้รับทิศทางกรอบการทำงานจากกรรมการชุมชน


2.จากข้อมูลข้างต้น เราจะพยายามหาความสัมพันธ์ของ ส่วนต่างๆ ได้ ตามรูปข้างล่าง




เราสามารถหาความสัมพันธ์ ของคนที่เกี่ยวข้องได้ ดังนี้





3.จาก ความเห็น  ที่แสดงไว้ใน เอกสาร  แสดงให้เห็น ถึง ปัญหา การหาเห็ดเพื่อการพาณิชย์ที่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของชาวบ้าน

ซึ่งจาก ข้อมูล ในข้อ 1  เราสามารถ สร้างระบบใหม่ตามความเข้าใจได้ดังนี้


สรุปการวิเคราะห์
1.ปัญหา การหาเห็ดเพื่อการพาณิชย์ที่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของชาวบ้าน
2.ปัจจัย ที่ เป็นหลักในการทำให้ ปัญหาเกิดขึ้น คือ เชิงพาณิชย์ และ การเพิ่มจำนวนเห็ด
3.จากกรอบ ขอบเขต การทำงานโรงเรียน โรงเรียน สามารถส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงได้ โดย จัดทำการศึกษาถึงผลของการหาเห็ดไปขาย กับ จำนวนเห็ดที่ลดลง  ในความรับผิดชอบของโรงเรียนเอง


ข้อเสนอ
1.การออกแบบ การเรียนรู้ หรือ โครงงานของนักเรียน  ให้ ทำการศึกษาโดย ใช้ หลักการ  วิจัยอิงการออกแบบ  ร่วมกับ  หลักการออกแบบห้องเรียนหรือหลักการออกแบบหลักสูตร (Classroom design  หรือ Curriculum development)
(อ่านรายละเอียด  หลักการ  วิจัยอิงการออกแบบ (Design Based Research) ได้ที่เอกสารนี้ ในหน้าที่ 59-70     เอกสารประชุมวิชาการ การวัดผล ประเมินผลและวิจัยสัมพันธ์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 26   )

โดย ใช้ แบ่งหัวข้อ ออกเป็น
1. การทำโครงงานหรือการเรียนรู้ ในด้าน การหาเห็ดไปขาย ในเชิงพาณิชย์   ราคา  ต้นทุน  ความต้องการ  ....
2.การทำโครงงานหรือการเรียนรู้ ในด้าน การเพิ่มจำนวนเห็ด  เช่น การปลูก การออกนโยบายอนุรักษ์  ควบคุม การหาเห็ด  ....





บทความที่เกี่ยวข้อง (ใช้เป็นแนวทางในหาวิธีในการ ทำการศึกษาเชิงลึก)

การออกแบบหลักสูตร




ควรทำอะไรต่อๆไป
1.ควรทำความเข้าใจสถานการณ์ของตัวเอง จากมุมมอง ที่ผมเสนอ มาข้างต้น (ซึ่งอาจจะไม่ถูก หรือ อาจจะให้มุมมองอะไรเพิ่มเติม)
2.ตั้งคำถามเพิ่ม
3.ตัดสินใจถึง ทิศทาง ในการทำการศึกษาเชิงลึก
4. หากการตัดสินใจ คือ ต้องการทำการศึกษาเชิงลึก ให้หาบทความที่เกี่ยวข้อง เพื่อ นำมาออกแบบการศึกษาที่จะทำ ( บทความข้างบน ใช้เป็นแนวทางได้  แต่ต้องหาเพิ่ม เพื่อเพิ่มความเข้าใจของตัวเอง)





รบกวน ให้ความเห็น หรือ คำถามที่มี จากการอ่าน บทวิเคราะห์นี้ ในช่อง Comment  ด้านล่างนะครับ  จะได้แบ่งให้คนอื่นๆ อ่านด้วยครับ

[NCON] กรณีบ้านสามขา - คุณครูศรีนวล rev.1 021119

ผมอธิบายบทวิเคราะห์ ไว้ใน VDO clip แล้ว Upload ไปบน Youtube นะครับ
ไปฟังคำอธิบายได้ ตาม LINK นี้นะครับ
คำอธิบาย กรณีบ้านสามขา



Goal: หาหัวข้อ หรือ ทิศทาง ที่เป็นไปได้ ในการทำการศึกษาเชิงลึก


Input: Reflection note + Preliminary qualitative data จากคุณแม่ศรีนวล

ข้อมูลดิบ -  จากคุณครูศรีนวล  022019 - LINK




Output: ความเข้าใจเบื้องต้น ต่อ สถานการณ์  + คำถาม + ความเป็นไปได้ในการทำการศึกษาเชิงลึก + ทิศทางการทำการศึกษาเชิงลึก



1.ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จาก Input

รายละเอียดการวิเคราะห์ ดาวน์โหลด ได้ที่นี่ Excel sheet



ตารางที่ 1  สรุปการวิเคราะห์ข้อมูล


Category Appearance Percentage of total items
Management  26 50%
Personal 3 6%
Sustainability 3 6%
Social Problem 3 6%
Communication  5 10%
Leadership 2 4%
Comment 10 19%



ตารางที่ 2  กลุ่มย่อย ใน หัวข้อ Management

Subcategory of  Management
Appearance Percentage of total items
Clear responsibility 3 12%
Communication 2 8%
Goal/Planning 6 23%
Leadership team 1 4%
Task management  12 46%
Villagers' Voices 2 8%


ตารางที่ 1 เกิดจากการ ดูข้อมูล ที่ได้จากการ ประชุมในหมู่บ้าน ในหลายวาระ  จากข้อมูลที่ได้  เราสามารถจัดกลุ่มหัวข้อ ได่ ตาม ตารางที่ 1  ซึ่ง หัวข้อ ปัญหาเกี่ยวข้องกับการจัดการงาน (ทักษะการบริหารจัดการ)   มีคนกล่าวถึงมากที่สุด ถึง 50% ของหัวข้อที่มีคนพูดขึ้นมาระหว่างการประชุม  ดังนั้น เมื่อเข้าไปดู ใน รายละเอียดของ ความเห็นที่คนกล่าวถึงใน หัวข้อนี้ เราจะเห็นหัวข้อย่อยได้ ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 2 ซึ่ง แสดงให้เห็นว่า ปัญหาในการขาดการจัดการงาน ที่มีประสิทธิภาพ(งานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องต่อการทำให้การแก้ปัญหาและพัฒนาสำเร็จอย่างที่คาดหวัง)   เป็นปัญหาที่คนพูดถึงมากที่สุด




2.จากข้อมูลข้างต้น เราจะพยายามหาความสัมพันธ์ของ ส่วนต่างๆ ได้ ตามรูปข้างล่าง

ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ จากข้อมูลที่แสดงเอาไว้ ไม่สามารถหาความสัมพันธ์ ของคนที่เกี่ยวข้องได้



3.จาก ความเห็น ของคุณแม่ศรีนวล และ ที่แสดงไว้ในข้อมูลดิบ  แสดงให้เห็น ว่า ปัญหา การขาดความ่รวมมือในหมู่บ้าน เป็นสิ่งที่ ทุกคน ให้ความสำคัญร่วมกัน

ดังนั้น ้เราสามารถตั้งสมมติฐานได้ว่า    การขาดความร่วมมือในการพัฒนาและแก้ปัญหาในหมู่บ้านเป็นสาเหตุในการถดถอยของการพัฒนาและการเกิดขึ้นมาใหม่ของปัญหาสังคมในหมู่บ้าน

ซึ่งจาก ข้อมูล ในข้อ 1  เราสามารถ สร้างระบบใหม่ตามความเข้าใจได้ดังนี้

สรุปการวิเคราะห์
1.ปัญหา การขาดการมีส่วนร่วมของสังคม ในการพัฒนาและแก้ปัญหา ในหมู่บ้าน
2.ปัจจัย ที่ เป็นหลักในการทำให้ ปัญหาเกิดขึ้น คือ ปัจจัย ด้านบริหาร  การฟังความเห็น/ความเป็นเจ้าของ และ การพัฒนาคนรุ่นต่อไป
3.ข้อมูลเบื้องต้นยังมี ช่องว่าง ที่อาจจะทำให้ การเข้าใจโครงสร้างผิดไป



ข้อเสนอ
1.การนำการศึกษาเชิงลึก  ให้ ทำการศึกษาโดย ใช้ หลักการ  วิจัยอิงการออกแบบ
(อ่านรายละเอียด ได้ที่เอกสารนี้ ในหน้าที่ 59-70     เอกสารประชุมวิชาการ การวัดผล ประเมินผลและวิจัยสัมพันธ์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 26   )

โดย ใช้ สมมติฐาน เริ่มต้นคือ การขาดการมีส่วนร่วมของสังคม ในการพัฒนาและแก้ปัญหา ในหมู่บ้าน

โดยที่ศึกษาถึงผล ของ ปัจจัยการบริหาร การรับฟังความเห็น และการพัฒนาคนรุ่นใหม่ ต่อการมีส่วนร่วม





บทความที่เกี่ยวข้อง (ใช้เป็นแนวทางในหาวิธีในการ ทำการศึกษาเชิงลึก)

กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ในแผนฟื้นฟูอนุรักษ์ป่าต้นน้าล้าธารและป่าชุมชน
เขื่อนศรีนครินทร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ปัญหาหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่

การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ท้องถิ่นสมัยก่อนประวัติศาสตร์แหล่งอารยธรรมบ้านโนนวัด ตำบลพลสงคราม อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา




ควรทำอะไรต่อๆไป
1.ควรทำความเข้าใจสถานการณ์ของตัวเอง จากมุมมอง ที่ผมเสนอ มาข้างต้น (ซึ่งอาจจะไม่ถูก หรือ อาจจะให้มุมมองอะไรเพิ่มเติม)
2.ตั้งคำถามเพิ่ม
3.ตัดสินใจถึง ทิศทาง ในการทำการศึกษาเชิงลึก
4. หากการตัดสินใจ คือ ต้องการทำการศึกษาเชิงลึก ให้หาบทความที่เกี่ยวข้อง เพื่อ นำมาออกแบบการศึกษาที่จะทำ ( บทความข้างบน ใช้เป็นแนวทางได้)





รบกวน ให้ความเห็น หรือ คำถามที่มี จากการอ่าน บทวิเคราะห์นี้ ในช่อง Comment  ด้านล่างนะครับ  จะได้แบ่งให้คนอื่นๆ อ่านด้วยครับ










Learning MS Power APP and FLOW

https://powerapps.microsoft.com/ro-ro/blog/microsoft-powerapps-learning-resources/