Wednesday, December 30, 2015

Elon Musk - Starting a Business







Okay, first of all I'd say starting a business is not for everyone. Generally, starting a business, I'd say, number one is have a high pain threshold. There's a friend of mine who's got a good saying which is that starting a company is like eating glass and staring into the abyss. Okay, that's generally what happens because when you first start a company there's lots of optimism and things are great. Happiness at first is high, then you encounter all sorts of issues and happiness will steadily decline, and then you will go through a whole world of hurt, and then eventually, if you succeed - and in most cases you will not succeed - and Tesla almost did succeed. It came very close to failure. If you succeed then, after a long time, you will finally get back to happiness.
I think, two, is that you've got to make sure that whatever you're doing is a great product or service. It has to be really great. To go back to what I was saying earlier, where if you're a new company - unless it's like some new industry or new market that hasn't - if it's an untapped market, then you have more ability to - the standard is lower for your product or service, but if you're entering anything where there's an existing marketplace, against large entrenched competitors, then your product or service needs to be much better than theirs. It can't be a little bit better, because then you put yourself in the shoes of the consumer and they say why would you buy it as a consumer. You're always going to buy the trusted brand unless there's a big difference. A lot of times an entrepreneur will come up with something that is only slightly better, and it can't just be slightly better. It's got to be a lot better.
Number three, I'd say, is constantly seek criticism. A well thought-out critique of whatever you're doing is as valuable as gold, and you should seek that from everyone you can, but particularly your friends. Usually, your friends know what's wrong, but they don't want to tell you because they don't want to hurt you. Yeah, they say I want to encourage my friend so I'm not going to tell him what I think is wrong with his product. It doesn't mean your friends are right, but very often they are right, and you at least want to listen very carefully to what they say.. and to everyone. You're looking for, basically, you should take the approach that you're wrong. That you, the entrepreneur are wrong. Your goal is to be less wrong.

Thursday, December 24, 2015

Constructionism - MicroWorld Workshop - SIU, Dec 14-18 2015

Constructionism

ความหมายง่ายๆ ที่ เราสามารถนึกถึงได้ จากการเข้าอบรม หรือ เฝ้าดูกิจกรรม ที่ถูกออกแบบมาด้วยหลักการนี้คือ การเรียนรู้โดยการลงมือทำ  (Learning-by-doing )

ซึ่งหากคิดไปในทางรูปแบบการเรียนรู้ ก็จะเป็น   ความรู้หรือความเข้าใจในสิ่งต่างๆนั้นเกิดจากการที่เราสร้างความรู้เหล่านี้ขึ้นมา แต่ทว่า ความเข้าใจของหลักการนี้ อย่างแท้จริง ต้องการ การทดลอง และสะท้อนความคิดตัวเองในหลายวงรอบการเรียนรู้จึงจะเข้าใจ การทำงานของหลักการการเรียนรู้นี้อย่างดี


Constructionist Learning Tools   ตารางข้างล่างนี้ เป็นตัวอย่างของเครื่องมือที่ถูกสร้างมาบนพื้นฐานของหลักการ Constructionism







 หลักการการเรียนรู้ ซึ่ง ต่อมาส่งผลให้เกิดเป็นการสร้างเครื่องมือชนิดนี้ขึ้นนั้น เกิดมา ในช่วงที่ Prof. Seymour Papert  นำการใช้ โปรแกรม Logo ซึ่งยังเป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ยังเป็นการแสดงผลด้วยตัวอักษรล้วนๆอย่างเดียวอยู่ในเวลานั้น ไป ใช้ในการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ใน รัฐ MA      แต่สิ่งที่มีส่วนส่งผล ช่วยให้ Papert พัฒนาหลักการเรียนรู้นี้  นั้นไม่ได้เกิดจาก ห้องเรียนคณิตศาตร์ แต่ เป็นการเฝ้ามองดูเด็กทำงานศิลปะในชั่วโมงศิลปะของโรงเรียน 
Papert สังเกตุว่า การเรียนในวิชา คณิตศาสตร์ นั้น เด็กๆ จะได้รับ มอบหมายให้ทำแกาแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เล็ก มากมาย ซึ่ง พวกเด็กก็ดูว่าจะสามารถทำได้อย่างดีบ้าง ไม่ดีบ้าง  เด็กๆก็ไม่แสดงออกถึงความสนุกสนานในการเรียนในห้องเรียน

ซึ่งต่างกับ ผลงานในวิชาศิลปะ ที่เขาเฝ้าดู เด็กๆที่ทำการแกะสลักสบู่ ออกมาได้อย่างสวยงาม และสนุกสนาน  ซึ่งงานแต่ละชื้น ถูกออกแบบมาจากจินตนาการของเด็กๆ และแต่ละชิ้น ต้องใช้เวลาในการแกะสลักต่อเนื่องเป็นเวลาหลายสัปดาห์

ซึ่งการให้เวลาในการทำงานนี้  ทำให้เด็กๆมีเวลาที่จะ คิด  จะจินตนาการ  จะหาแนวคิดใหม่ๆ ที่เขาสามารถลอง   สามารถเปลี่ยนแนวคิดใหม่ จากแนวคิดเดิม   สามารถที่จะพูดคุยแลกเปลี่ยนความเห็นกับเพื่อนๆ  ดูผลงานของเพื่อนๆ และ ฟังความเห็นของเพื่อนๆต่อผลงานของตน    ซึ่งแตกต่างจากสิ่งที่เกิดในห้องเรียนคณิตศาสตร์อย่างสิ้นเชิง

จากการสังเกตุนี้เองทำให้เขาคิดที่จะสร้าง  “Soap-Sculpture Math” หรือวิชาคณิตศาสตร์แบบการแกะสลักสบู่ ขึ้นมา



เครื่องมือ  Microworld
จะเห็นว่า MicroWorld นั้น สามารถทำให้เกิด สภาวะในการทำงาน แบบเดียวกับ ที่เกิดขึ้น การห้องเรียนวิชาศิลปะที่ให้เด็กๆทำการแกะสลักสบู่
ในการเลือกหัวข้อโครงงานที่จะทำด้วย MicroWorld นั้น ผู้เรียนจะต้องคิด จินตนาการ หาหัวข้อที่จะทำขึ้นมาเอง  เช่น เดียวกับการที่เด็กๆก็ทำการแกะสลักสบู่ ออกมาเป็น รูปแบบที่เขาคิดจินตนาการมาเองเช่นกัน  ทำให้ ทุกคนได้ทำงานที่ตัวเองอยากทำ ซึ่งทำให้ทุกคนมี พลังที่จะคอยผลักดันตัวเอง ให้ทำงานให้สำเร็จ แม้ว่าจะต้องเจอกับอุปสรรค ในระหว่างการทำงาน


ในการแกะสลักสบู่ เด็กๆจะใช้มีดในการ แกะสลักสบู่ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่เขาอยากจะเห็น  ในส่วนของ MicroWorld ผู้เรียนจะต้องใช้ การคิดในวิชาคณิตศาสตร์ และ ความเข้าใจในทางเรขาคณิต  ในการสร้างโครงงานที่เลืกออกแบบขึ้นมา

โดยที่ทั้ง งานการแกะสลักสบู่ และ MicroWorld workshop  เด็กๆและผู้เรียน ก็จะมีเวลาในการทำงานเพียงพอ ที่จะ ให้ผู้เรียนนั้น สามารถ คิดจินตนาการ ทดลองแนวคิด เปลี่ยนแบบ  พูดคุยกับเพื่อนๆ  ฟังความเห็นซึ่งกันและกัน

[ ในระหว่างการทำงาน ใน MicroWorld workshop ผู้เรียนจะมีโอกาสในการสะท้อนความคิดให้เห็นถึงการทำงานของตัวเอง ที่บางคน ก็จะพยายามแก้ปัญหาที่มีด้วยตัวเองโดยไม่ถามหรือคุยกับคนอื่น   บางคนก็ใช้การคุย แลกเปลี่ยนความเห็นกับคนข้างๆ เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาที่เจอ   บางคนก็ขอให้คนอื่นมาช่วยเหลือ  ซึ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นการทำงานของเรา ว่าเรามี EGO ที่ส่งอาจจะส่งผลการทำงานเป็นทีมหรือไม่    ว่าเราชอบที่จะมองหาคนที่ต้องการความช่วยเหลือ และรีบเข้าไปช่วยหรือไม่ หรือ อื่นๆ ]




 ในการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้แบบนี้  ทำให้ผู้เรียน มุ่งความสนใจไปที่ การแก้ปัญหาหรือทำงานที่ตัวเองมีความสนใจ หรือ มีความหมายกับตัวเอง ซึ่งในระหว่าง การทำงาน ก็จะต้องมีการทำการเรียนรู้ วิธีการ ความคิด ความรู้ ใหม่ๆ เพื่อที่จะทำให้ผู้เรียนสามารถที่จะทำงานได้ประสบความสำเร็จ     โดยที่ในระหว่างการทำงานก็มีการแสวงหาโอกาสที่จะแลกเปลี่ยนความเห็นที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของตนกับคนอื่นๆ ที่มีพื้นฐานแตกต่าง หลากหลาย   เพื่อนำมาปรับปรุง การทำงานของตน อยู่เสมอ  และที่สำคัญ ในระหว่างการทำงาน  Facilitator จะมีบทบาทสำคัญที่จะส่งเสริมให้ขบวนการนี้ มีการเรียนรู้เกิดขึ้นไปพร้อมๆกับการทำงาน เพื่อไม่ให้ เมื่อโครงการจบแล้ว ผลที่ได้จะไม่ใช่ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์เพียงอย่างเดียว  แต่เป็นการเรียนรู้ ที่เพิ่มความสามารถ ความรู้หรือทักษะใหม่ ให้กับคนทำงานด้วย 

ซึ่งเมื่อพิจารณาดูตามหลักคิดนี้แล้ว  การออกแบบวิธีการเรียนรู้นี้นั้น สามารถเกิดขึ้นได้ ในการทำงานปกติทั่วไปของบริษัทเช่นกัน







“Constructionism is not interested in pitting serious against playful, but instead finds way to live at the intersection of the two”  Paulo Blikstein (2015)


[ Constructionism นั้นไม่ได้ที่จะ เลือกให้ความสำคัญระหว่าง การทำงานที่มีความจริงจัง กับ ความสนุกในการทำงาน เพื่อให้งานนั้นๆประสบความสำเร็จ   แต่เป็นหลักการที่ยืนอยู่บนจุดสมดุลของทั้งสองด้าน ]

Monday, December 21, 2015

Carpcomm: How to build a satellite receiving station using a...

Carpcomm: How to build a satellite receiving station using a...: Space and satellites are something that only few people are fortunate enough to interact with. However, this is starting to change due to ...

Thursday, December 17, 2015

Community Shop at Ban Sam Kha : Lessons learned from Aj.Suchin

Community Shop at BanSamKha


It took more than the utilization of the technology and the trainned knowledge/ skills to set up a grocery store like the one at BanSamKha. What BanSamKha's Community Shop gives to the BanSamKha villagers is more than the groceries or the consumables commonly found in the usual grocery store.


It gives the opportunity to learn to the villagers.


Aj.Suchin shared his experience that
At this community store, the villager was given a chance to develop literacy and learning skills through the need to do the accounting and to manage the shop.
Of course, if we were to give the computing machine or any other machine which would help the villagers to do these tasks, the villager might handle the task easier. However we would take away the opportunity to learn from them in return.


From this case, it appeared that the villager who recieved this chance has developed her literacy and learning skills. From this point, her confidence in learning and doing things have gradually been developed and she appeared to be able to handle more and complicated task/ problems like planning and managing her other small businesses and also the farming.


Furthermore, the shop was set up to give the people in the community chances to learn from each other.
For example, if the shop were to put in the liquers and cigarettes on the shelves in the store, the shop would gain some cashes from selling these addictive items but the community will surely receive the damages resulting from the consumption of these products. Therefore to decide what to sell, or what not to will be carefully planned from the villagers' habits and culture.


The point that is really important is that if it is right to always rely on the technology to do things or to make the system more productive. Sometimes waiting to use the technology at the right time would bring much better outcomes from the system of interest. Human factor is the one that could not be overlooked.


Question: Can we call the communicaty shop at BanSamKha  a social enterprise?

Tuesday, December 1, 2015

Success Case Method - Interviewing Technique : Filling Buckets

Filling Buckets - Protocol Conceptual Model

จากความต้องการที่จะเก็บข้อมูล (Qualitative data)  จาก การ interview  มีความจำเป็นที่จะต้อง ทำให้แน่ใจว่า ในแต่ละการ Interview  เราจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนที่สามารถจะนำมาสรุปเป็น success story ได้  โดยที่เราจะไม่ขาดข้อมูลในส่วนใดๆไปเลย  ซึ่งการทำแบบนี้ มีวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยได้ คือ  ในระหว่าง การ Interview เราต้องมี List  ของกลุ่ม ข้อมูล ที่เราต้องการจะได้ และพยายาม inetrview เพื่อหาข้อมูล ในแต่ละด้าน     เราสามารถ imagine process นี้ได้เหมือนกับ การพยายาม หาข้อมูลมาใส่ ในถัง ที่ แสดงถึง ข้อมูลในแต่ละด้านที่เราต้องการ และ เมื่อเราสามารถหาข้อมูลมาใส่ในถังเหล่านี้ได้เต็มหมดแล้ว  ก็ ถือว่า การ interview เสร็จสมบูรณ์

จาก Success case method ได้เสนอว่าในการ interview จะสามารถแบ่งกลุ่มข้อมูลที่เรา ต้องการได้ดังนี้

สำหรับ  Success cases / factors







สำหรับ Non Success cases / factors





สำหรับแต่ละกลุ่มข้างบน มีรายละเอียดคำอธิบาย หรือ ตัวอย่างคำถาม ดังนี้
สำหรับ Success cases/ factors
1.What was Used?   เราต้องการรู้ว่า ผู้เรียน ได้มีความรู้สึกอย่างไร มี การใช้อะไร  เมื่อไร  อย่างไร ใช้เครื่องมือใดหรือได้รับประสบการณ์อะไร เมื่อไร ที่ไหน ที่ทำให้ เกิดความสำเร็จนี้เกิดขึ้น    มีหลักฐานอะไรไหมที่สนับสนุน สิ่งที่ ผู้เรียน ให้ความเห็นมา  เช่น  รูปถ่าย  คำพูดหรือความคิดของตัวเองต่อคนอื่น     คำสัมภาษณ์ จากคนอื่นๆ หรือ ...
2.What results were achieved?   ผลลัพธ์อะไร ที่ผู้เรียน ได้รับหรือ แสดงให้เห็นออกมา จากการที่ใช้ สิ่งที่บอกมาจาก ข้อ 1     ผลลัพธ์ที่แสดงออกมานี้มีความแตกต่างกับ ปัจจัย หรือ องค์ประกอบที่ใกล้เคียงกัน  ที่เกี่ยวกับผู้เรียนในอดีตอย่างไร    ผู้เรียนรู้ได้อย่างไรว่า มีการเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้น  หรือใครเป็นผู้สังเกตุเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงนี้  แล้ว คนนี้ ให้ feedback หรือ  comment กับผู้เรียนอย่างไร และมีอะไร  และผู้เรียนคิดอย่างไรกับ comment นี้     มีหลักฐานอะไรไหมที่สนับสนุน สิ่งที่ ผู้เรียน ให้ความเห็นมา  เช่น  รูปถ่าย  คำพูดหรือความคิดของตัวเองต่อคนอื่น     คำสัมภาษณ์ จากคนอื่นๆ หรือ ...
3.What good did it do?    ทำไมผลลัพธ์ที่ได้นี้ มีความแตกต่าง หรือ มีความสำคัญ     มันส่งจะผลต่อสิ่งใดในอนาคตไหม   มี ปัจจัย ลบ ใดๆไหม ที่ถูก สิ่งที่บอกมาจากข้อ 1  มาทำให้ลดความสำคัญหรือหายไป
4.What helped?   มีปัจจัย หรือ สิ่งใดไหม ที่อยู่รอบๆตัวผู้เรียนที่ ช่วยผู้เรียนให้ ประสบผลสำเร็จนี้     มีแรงกระตุ้น  รางวัล เป้าหมาย อื่นใดไหม ที่ ส่งผลต่อความสำเร็จนี้      ในส่วนความช่วยเหลือจากคุณครู  หรือ คนรอบๆข้าง  มีส่วนอย่างไร ต่อความสำเร็จนี้ หรือ มีส่วนที่เป็นอุปสรรคไหม       มีเครื่องมือใดๆ  สื่ออ้างอิงอะไร หรือ สิ่งใดไหมที่ช่วยในการทำให้เกิดความสำเร็จนี้        จากความเห็นของผู้เรียน มี อะไร ที่ทำให้ผู้เรียน ใช้เครื่องมือ หรือ สิ่งต่างๆ ที่ช่วยให้เกิดความสำเร็จนี้ แล้วทำให้เกิดความสำเร็จ เมื่อเทียบกับคนอื่นที่ใช้ สิ่งเดียวกัน แต่ไม่ประสบความสำเร็จดังที่เห็นนี้    มีปัจจัย เหตุการณ์ หรือ สิ่งใดไหม ที่ทำให้ผู้เรียนมีความรู้สึกที่จะมุ่งไปสู่เป้าหมายที่สำเร็จนี้ 
5.Suggestions?  สำหรับผู้เรียน  มีความเห็นใดๆไหมเกี่ยวกับ เครื่องมือ  แหล่งข้อมูล  แรงกระตุ้น  การฝึก หรือ ปัจจัยอื่นๆ  ที่หากผู้เรียนได้รับ จะทำให้ ผู้เรียนทำได้ดีกว่านี้ หรือ มีความสำเร็จที่เห็นชัดกว่านี้      สำหรับผู้เรียน  จากการสัมภาษณ์นี้  มีความใดไหม ต่อผู้สัมภาษณ์ ที่จะทำให้ได้ข้อมูลที่มากขึ้น  หรือ มีประโยชน์มากขึ้น เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป



สำหรับ non success cases/ factors
1.Barrier  คำถาม จะถามเพื่อหา ว่าผู้เรียนคิดว่า สิ่งที่ไม่ประสบความสำเร็จนี้ เป็นเพราะผู้เรียน ใช้เครื่องมืออะไร  มีพื้นฐานความคิด หรือ สมมติฐานใดที่ทำให้ผู้เรียน ไม่สามารถทำสิ่งที่คาดไว้ได้
2.Suggestions    สำหรับผู้เรียน  มีความเห็นใดๆไหมเกี่ยวกับ เครื่องมือ  แหล่งข้อมูล  แรงกระตุ้น  การฝึก หรือ ปัจจัยอื่นๆ  ที่หากผู้เรียนได้รับ จะทำให้ ผู้เรียนทำได้ดีกว่านี้    




โดยก่อนทำการ Interview นี้ ผู้สัมภาษณ์ ต้อง ระบุออกมาก่อนว่า สิ่งใด หรือ ปัจจัย ใด ที่ ถือว่าเป็นความสำเร็จ Success หรือ ความล้มเหลว non success   เพื่อที่จะทำการ Interview ตาม protocol ข้างต้น เพื่อ หาข้อมูลมาให้ได้  แล้วจะได้นำมาสรุปเป็น success story หรือ non success story ต่อไป






Sunday, November 22, 2015

Article Summary - HBR “Lean Knowledge Work” by Bradley Staats and David M. Upton

How to identify and eliminate process wastes
(source: HBR “Lean Knowledge Work” by Bradley Staats and David M. Upton )


Lean

3 key principles

1.Relentless attention to Detail
2.Commitment to data-driven experimentation
3.Charging workers with the ongoing task of increasing efficiency and eliminate waste in their jobs


Lean - originated and theorised from the famous Toyota Production System which involves originally the manufacturing work : repetitive, able to be unambiguously defined, requiring less decision making in between the major steps in production.
Therefore it is arguable if the same principles can be applied to knowledge/ service/ office work.


Lean is famous for the productivity improvement through manufacturing or processing time and cost reduction, but is not so much recognised in the quality improvement.

!!!   THUS, it is not recommended to deploy Lean principle to the INNOVATION work because the time required to do the experiments in order to come up with new products could be considered as one form of Lean waste.   !!!



Knowledge/ Office work - Belief : one often believes that the office work : IT, financial, engineering or legal services involving the knowledge locked inside the worker’s head could not be leaned.

However in some of the processes in these types of work, there are activities that are repetitive and have nothing to do with applying judgement. These activities can be streamlined by training employees to continually find and root out waste.




6 principles toward Lean process/ organisation

1.Eliminate Waste 


7 Wastes of Lean
  1. Defects - ของเสีย หรือ ส่วนที่ทำงานผิดปกติในขบวนการ
  2. Overproduction - การผลิตเกินกว่าที่ต้องการหรือวางแผนไว้ หรือ การที่ขบวนการให้ผลลัพท์ที่มากเกินกว่าที่ผู้รับต้องการ
  3. Waiting - ในระหว่างการทำขบวนการนี้ มี ขั้นตอนที่ต้องมีการรอ ในระหว่างการทำงาน แทนที่ขบวนการจะดำเนินต่อไปอย่างต่อเนื่อง
  4. Transportation - ต้องการส่งข้อมูล หรือ เอกสาร ในขบวนการ ซึ่งอาจจะทำให้เกิดปัญหาหรือความล่าช้าในขบวนการ
  5. Inventory- มีการเก็บข้อมูล เอกสาร หรือ ของที่เกี่ยวข้อง โดยที่ไม่จำเป็น
  6. Motion - ในการทำงานมีการเคลื่อนไหวของพนักงานที่ไม่เป็นประโยชน์ เช่น การที่ตู้วางเอกสารที่ต้องใช้ อยู่ ไกล และทำให้ต้องมีการเดินไปเอามาเพื่อทำงาน
  7.  Excess processing - มีขบวนการทำงานที่ไม่จำเป็น  

How to identify and eliminate Waste in process
1.1 Tech everyone to ask “5 Whys” - Process waste might be hard to be identified because it has been part of the process for a long time.
To identify waste, one must keep asking questions “Why?”  in the normal, regular procedures of daily task until getting the root cause of every activity performed. 

For example, Why am I attending this meeting?
          Why am I filling out this report?
                      Why am I standing and waiting at the printer?

1.2 Encourage everyone to look for small forms of waste, not just big ones
Try to think about your own workplace or daily task, 

For example, How many e-mails clutter your in-box because someone cc’d you unnecessarily?
          How long did you have to wait start a regularly scheduled meeting because attendees slowly trickled in?
          How many reports are created that nobody reads?

See things around you and try to use “5 whys?” to recognise waste.  Eliminating it will give you more free time to do more valuable and more rewarding work.

1.3 Periodically review the structure and content of every job
Often times the office work is unstructured and broad. The work normally keeps expanding as, over times, one activity after another is added. Eventually it ended up that everyone has too much work to do and often the regular, daily work is filled with low value task consuming most of our times.

Manager and employees should regularly assess own task and try to see how much we spend on each.

Periodically reviewing the structure and detail of the task would allow us to identify and see the root cause of the NOT ENOUGH TIME problem


2. Specify the Work

How to write down exactly how to perform a task

2.1 Look for repeatable parts of the process and codify them

2.2 Don’t try to specify everything initially, if ever
2.3 Use data to get buy-in

2.4 Keep studying the work that has been designated as tacit


3. Structure Communication

How to create and promote good communication among team members

3.1 Define who should be communicating, how often and what

3.2 Create a shared understanding

3.3 Resolve disagreements with facts, not opinions

4. Address problems quickly and directly

How to turn the operations to problem-solving engines
4.1 If a problem arises, ideally the person who created it should fix it

4.2 Problems should be solved where they occur.

4.3 Solve problems as soon as possible after they emerge


5. Plan for an incremental journey

How to achieve the continuous improvement goal

5.1Codify the lessons learned

5.2 Keep looking for new ways to work

5.3 Remember that the lean approach is NOT useful everywhere

6. Engage your managers

How to support and nurture the bottom-up improvement

6.1 Senior leaders must be long term champions






Two Bin Supply System at St Clair Hospital

Saturday, October 24, 2015

3RD ESA WORKSHOP ON ADVANCED FLEXIBLE TELECOM PAYLOADS

3RD ESA WORKSHOP ON ADVANCED FLEXIBLE TELECOM PAYLOADS

It is our pleasure to welcome you to the 3rd ESA Workshop on Advanced Flexible Telecom Payloads jointly organized by the European Space Agency’s directorates of Technical and Quality Management (TEC) and Telecommunications and Integrated Applications (TIA).

Established in 2008 the Workshop is a unique event aimed at presenting and discussing the latest technical and technological advances in satellite communications payloads with on board flexibility capabilities. The Workshop will address different aspects of on board payload flexibility at coverage, connectivity, channelisation and EIRP level with the objective to examine key system/payload architectures and related technologies that will allow a power, mass and cost effective implementation of future advanced satellite communications missions.

Workshop registration is open to worldwide satcom stakeholders, including  operators, manufacturers, research institutions and universities.

Papers and presentations will cover different technical and technological elements related to the implementation of future flexible telecom payload/systems, including:
  • Systems, applications and operators’ needs of flexible/generic payloads
  • Flexible Payload and System architectures
  • Flexibility for Large Constellations
  • Payload flexibility for dual-use and hosted payloads applications
  • Flexibility for interference management
  • Flexible RF power generation and output sections (e.g. flex-TWTA, Multiport Amplifiers, etc.) 
  • Reconfigurable antennas (active and passive) 
  • Digital on board processors and related technologies
  • Tunable frequency converters
  • Analogue (including optical) processor equipment and technologies 
  • Reconfigurable Filters, RF Switches and Switching Matrices
  • Payload Photonic Opportunities
  • Flexible Payload/System analysis, simulation and optimization tools

http://congrexprojects.com/2016-events/16c05/introduction


Sunday, October 11, 2015

Outlearning The Wolves - Animation

Business Intelligence หรือการหาองค์ความรู้ ขาดระบบสารสนเทศที่ดีไม่ได้

สร้างความสามารถในการแข่งขันด้วย Business analytics and research

   
ในโลกของธุรกิจ (และโลกของราชการ) ทุกวันนี้มีข้อมูลมากมาย เราเข้าไปซื้อของ ไปใช้บริการ มีการใช้ Barcode scanner เข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ เราท่อง Website ก็ถูกเก็บข้อมูลตลอดเวลา เราจับจ่ายใช้สอยก็ต้องมีการบันทึกข้อมูลการใช้บัตรเครดิตของเรา เราไปธนาคารหรือใช้บริการ internet banking ข้อมูลธุรกรรมต่างๆ ของเราก็ถูกบันทึกไว้ตลอดเวลา เรามีข้อมูลมากมาย มีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย มีความเร็วในการประมวลผลสูงมาก แต่นั่นไม่ใช่สิ่งที่สำคัญที่จะช่วยให้เราสามารถเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน หน้าที่ของคนทำงานด้าน business analytics ไม่ใช่เป็นนักสถิติธรรมดาๆ ไม่ใช่นักคอมพิวเตอร์ แต่เราทำหน้าที่วิเคราะห์ธุรกิจ โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์จำนวนมหาศาล เพื่อนำมาสกัดหาสารสนเทศและท้ายที่สุดคือปัญญาทางธุรกิจ (Business Intelligence) ที่จะนำไปสู่ความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive advantage)
       
       สมมุติว่าเราเข้าไปซื้อสินค้าให้ห้างสรรพสินค้า หากเราสมัครสมาชิกบัตรลดของห้างสรรพสินค้า จะทำให้ห้างสรรพสินค้า รู้ว่าเราคือใคร และถ้าเรากลับมาซื้ออีก ห้างสรรพสินค้าสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมในการซื้อของของเรา พฤติกรรมในการจับจ่ายใช้สอย ประเภทของสินค้าที่ซื้อ เช่น วิเคราะห์ว่าเราชอบซื้อสินค้าอะไร ควบคู่กับสินค้าอะไรด้วยการวิเคราะห์ตะกร้าของตลาด (Market Basket Analysis) ทำให้ทราบว่าควรจะนำสินค้าอะไรมาวางคู่กัน จัดพื้นที่ขายได้ดีขึ้น (Space management) ถ้าหากจะโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์หรือจัดโปรโมชั่น ก็จะได้ทราบว่าควรจะเสนอขายอะไรกันแน่ เรายังสามารถวิเคราะห์จัดกลุ่มทางการตลาด (Market segmentation) จากพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยได้อีก ทำให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่มได้ตรงจุดมากยิ่งขึ้น เป็นการจัดการความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า ทำให้เกิดความสามารถในการแข่งขันทางการตลาดโดยอาศัยความรู้จากปัญญาและการวิเคราะห์ทางการตลาด (Marketing analytics and intelligence) และปัญญาและการวิเคราะห์ลูกค้าสัมพันธ์ (Customer relationship management analytics and intelligence)
       
       จำนวนธุรกรรมในแต่ละช่วงเวลา การเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลสินค้าคงเหลือและข้อมูลขายจะสามารถนำมาใช้วิเคราะห์เพื่อจัดผังหรือตารางการทำงานของพนักงานให้ลูกค้าใช้เวลารอคอยน้อยลง คำนวณระดับสินค้าคงเหลือที่เหมาะสมที่สุด คำนวณระดับการสั่งซื้อสินค้าที่เหมาะสมทันเวลา บริหารห่วงโซ่อุปทานได้เหมาะสมเป็นต้น ทั้งหมดนี้อาศัยความรู้ด้านปัญญาและการวิเคราะห์การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain management analytics and intelligence)
       
        ด้วยข้อมูลเดียวกันนี้ หากแผนกทรัพยากรมนุษย์ของห้างสรรพสินค้าดังกล่าวมีระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resource information system) และนำมาเชื่อมโยงกับข้อมูลการขายการตลาด ก็สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ว่าพนักงานขายในห้างสรรพสินค้าที่จะมียอดขายสูงนั้นควรมีลักษณะเช่นใด เช่น ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนทดสอบบุคลิกภาพของพนักงานกับยอดขาย เราอาจจะได้ข้อค้นพบที่น่าประหลาดใจเช่น พนักงานขายของในห้างสรรพสินค้าที่มีบุคลิกภาพแบบไม่เปิดเผยตัวเอง (Introvert) ซึ่งจะค่อนข้างเงียบ ไม่ค่อยพูด ไม่เข้าไปมีปฏิสัมพันธ์ก่อนง่ายๆ กลับมียอดขายสูงกว่าพนักงานขายที่มีบุคลิกภาพแบบเปิดเผยตัว (Extrovert) ซึ่งชอบเข้าหาคน มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมสูง ปัญญาและการวิเคราะห์ด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resource analytics and intelligence) นี้ช่วยให้เราสามารถคัดเลือกบุคลากรได้เหมาะสมมากขึ้น รู้แนวทางในการพัฒนาบุคลากรได้ดีขึ้นเช่นกัน และนำไปสู่ความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้นด้วย
       
        ห้างสรรพสินค้าแห่งนี้อาจจะออกบัตรเครดิตของตัวเอง โดยร่วมมือกันกับธนาคารพาณิชย์ สิ่งที่ห้างสรรพสินค้าและธนาคารพาณิชย์ต้องร่วมกันคือป้องกันไม่ให้เกิดการลักลอบนำบัตรเครดิตไปใช้ (Fraud) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทั้งตัวเองและต่อตัวลูกค้าด้วย โดยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติของธุรกรรมในการใช้จ่ายบัตรเครดิตนั้นๆ ว่ามีความผิดปกติประการใดหรือไม่ เช่น ใช้บัตรเครดิตเป็นจำนวนมากผิดปกติกว่าที่เคยใช้ หรือรูดบัตรเครดิตต่อเนื่องติดกันโดยไม่ได้เว้นจังหวะซึ่งผิดปกติ นอกจากนี้ก่อนออกบัตรเครดิตก็ต้องมีการตรวจประวัติ อนุมัติวงเงินเครดิต ซึ่งสามารถอาศัยความรู้ด้านปัญญาและการวิเคราะห์การจัดการความเสี่ยงเชิงปริมาณ (Quantitative risk management analytics and intelligence) ซึ่งป้องกันความสูญเสียทางการเงินทำให้สร้างความสามารถในการทำกำไรและการแข่งขันได้
       
        เมื่อห้างสรรพสินค้าแห่งนี้สามารถทำกำไรได้ดี ก็อาจจะต้องมีการบริหารการเงินที่ดีด้วย จะจัดพอร์ตการลงทุนอย่างไร จะพยากรณ์ทางการเงินให้สามารถบริหารเงินทุนหมุนเวียนได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้กิจการมีสภาพคล่องไม่ขาดเงิน ขณะเดียวกันก็มีต้นทุนของทุนหมุนเวียนเฉลี่ยต่ำสุดเป็นต้น ซึ่งต้องอาศัยความรู้ด้านปัญญาและการวิเคราะห์การเงิน (Financial analytics and intelligence)
       
        ท่านคงจะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ธุรกิจและการวิจัย นำไปสู่ ปัญญาทางธุรกิจ (Business Intelligence) ซึ่งจะช่วยสร้างความสามารถในการแข่งขันได้เป็นอย่างดี ในโลกปัจจุบันมีข้อมูลมากมาย แต่ข้อมูลจะมีคุณค่านำมาใช้สร้างความสามารถในการแข่งขันได้ก็ต่อเมื่อมีความรู้ด้านการวิเคราะห์ธุรกิจและการวิจัย ซึ่งทั้งหมดนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้หลากหลายประเภทแม้กระทั่งการบริหารงานของภาครัฐ ซึ่งต้องใช้ความรู้เหล่านี้ในการวางแผนและการร่างนโยบายเช่นเดียวกัน 

Business Intelligence หรือการหาองค์ความรู้ ขาดระบบสารสนเทศที่ดีไม่ได้
 หลายหน่วยงานมีการพูดถึงการหาองค์ความรู้เพื่อมาใช้ในการทำธุรกิจ หรือการหาความชาญฉลาดทางธุรกิจเพื่อให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งทางการค้าและหารายได้ให้กับหน่วยงานตนเอง หน่วยงานต่างๆ ได้สนใจเทคโนโลยีที่เรียกว่า Big Data ซึ่งในความเป็นจริงคือการทำคลังข้อมูล ในการทำคลังข้อมูลนี้เราต้องยุ่งเกี่ยวกับข้อมูลปริมาณมากๆ ที่ถูกจัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลของหน่วยงาน เราจึงต้องมีเทคโนโลยีที่มาบริหารจัดการข้อมูลปริมาณมากๆ ทั้งนี้วิธีการจัดการข้อมูลในฐานข้อมูลก็ยังคงใช้แนวคิดเดิมคือ Relational Database Management เพียงแต่จะต้องทำให้ระบบจัดการฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น ให้สามารถดึงข้อมูลปริมาณมากตามที่หน่วยงานต้องการได้ไว แต่ทั้งนี้การหาองค์ความรู้ไม่ได้ต้องการข้อมูลในรูปของแต่ละรายการทางธุรกิจ หรือ Transaction เท่านั้น ในการหาองค์ความรู้แต่ละอย่างหน่วยงานต้องระบุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ หรือต้องเข้าใจองค์ความรู้ที่ตนเองต้องการจะหาระดับหนึ่ง เพื่อที่จะสามารถระบุข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องและต้องใช้เพื่อหาองค์ความรู้ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจมาจากฐานข้อมูลหลายฐานข้อมูล หรืออาจจะต้องมีการคัดกรอง ทำความสะอาด และจัดเตรียมให้พร้อมก่อนเอามาวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค Data Mining ก่อนจะแปลผลจากการวิเคราะห์ไปในเชิงธุรกิจเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
       
       การดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การรวมข้อมูลจากหลายแหล่งให้เป็นชิ้นเดียวกัน การทำความสะอาดข้อมูลไม่ให้มีข้อมูลผิดปกติหรือข้อมูลขาดหาย และการเตรียมข้อมูลให้พร้อมโดยการแบ่งเป็นชิ้น หรือการรวมข้อมูลให้มีความหมายเบื้องต้น เป็นกระบวนการสำคัญ ที่จะทำให้คุณภาพขององค์ความรู้ที่ต้องการจะได้สูง คลังข้อมูลจึงถูกนำมาจัดเก็บข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการดังกล่าวมาแล้ว การออกแบบคลังข้อมูลและการจัดการคลังข้อมูลจึงเป็นสิ่งสำคัญในการได้องค์ความรู้มาใช้แข่งขันกับคู่แข่ง มิฉะนั้นเราจะได้องค์ความรู้ที่ผิดเพราะวัตถุดิบเริ่มต้นในการผลิตองค์ความรู้ไม่ดี เหมือนที่เราเคยได้ยินว่า “When you put the garbage in then you will get the garbage out.” ไม่ใช่องค์ความรู้ที่มีประโยชน์
       
       ท่านคงเห็นได้ว่าข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญมากกว่าเทคโนโลยี เราต้องเน้นที่คุณภาพของข้อมูล ถ้าข้อมูลคุณภาพดี โอกาสที่จะได้องค์ความรู้ที่ดี ที่มีประโยชน์ไปใช้ในการแข่งขันก็จะสูง ปัญหาของการได้ข้อมูลคุณภาพไม่ดีมีได้หลายสาเหตุ ส่วนหนึ่งมาจากการนำข้อมูลเข้าผิด ดังนั้นหน่วยงานจึงควรคำนึงถึงวิธีการลดปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ การบังคับให้บุคลากรในหน่วยงานนำข้อมูลเข้าให้ถูกคงเป็นไปไม่ได้ ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องสามารถตรวจจับและป้องกันการนำเข้าข้อมูลที่ผิดได้ แม้ว่าสุดท้ายบุคลากรที่ดูแลและเข้าใจข้อมูลส่วนนั้นะต้องเป็นคนตรวจสอบความผิดปกติของข้อมูลส่วนนั้นเอง ส่วนถัดมาที่ทำให้ข้อมูลมีคุณภาพไม่ดีคือการมีข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่งหากมีจำนวนข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนจำนวนมากๆ แล้ว ในระหว่างทำความสะอาดข้อมูล รายการข้อมูลที่ขาด ไม่ครบถ้วน ไม่สมบูรณ์จะต้องถูกทิ้งไป ไม่เอามาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหาองค์ความรู้ นั่นหมายถึงการทิ้งความรู้บางส่วนที่เกิดขึ้นจริง หรือทำให้ได้องค์ความรู้ไม่ครบหรือไม่สะท้อนความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ระบบสารสนเทศจึงถูกนำมาใช้เพื่อกำกับให้มีการเก็บข้อมูลที่สำคัญให้ครบถ้วน สมบูรณ์ เพื่อให้ได้รายการที่สมบูรณ์สำหรับนำมาวิเคราะห์เยอะที่สุด และส่งผลให้ได้องค์ความรู้ที่สมบูรณ์ ครบถ้วน สะท้อนความเป็นจริงในธุรกิจมากที่สุด
       
       แต่ที่สำคัญที่สุดหากผู้ออกแบบระบบสารสนเทศเข้าใจธุรกิจ หรือวัตถุประสงค์ในการนำองค์ความรู้ไปใช้ รวมทั้งเข้าใจเทคนิคในการทำการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมากเพื่อให้ได้องค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขันในเชิงธุรกิจ จะทำให้สามารถมองข้อมูลที่น่าจะใช้ในการหาองค์ความรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงธุรกิจ และลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ นอกเหนือจากข้อมูลที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจปัจจุบันตามที่ระบุโดยผู้ใช้งานระบบ ดังนั้นเมื่อหน่วยงานต้องการจะหาองค์ความรู้ หน่วยงานก็จะมีข้อมูลเพียงพอหรือครบถ้วนสมบูรณ์ มาทำการวิเคราะห์ให้ได้องค์ความรู้ที่มีคุณค่า ซึ่งในปัจจุบันจะพบว่าข้อมูลที่สามารถนำมาวิเคราะห์หาองค์ความรู้หรือการทำ Data Mining นั้น มีปริมาณไม่ถึง 50% ของปริมาณข้อมูลตั้งต้นที่ผู้เชี่ยวชาญระบุว่าจำเป็นต้องใช้เพื่อประกอบการหาองค์ความรู้ 
        ระบบสารสนเทศที่ดีไม่ใช่แค่รวบรวมหรือออกแบบให้เก็บข้อมูลตามที่ผู้ใช้งานระบุในปัจจุบัน ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องสามารถรวบรวม จัดเก็บข้อมูลที่คาดว่าจะต้องใช้เพื่อหาความสามารถในการแข่งขันให้กับธุรกิจในอนาคตได้ด้วย ผู้ออกแบบระบบสารสนเทศที่ดีจึงควรจะต้องเข้าใจลักษณะธุรกิจที่ระบบสารสนเทศที่ตนเองออกแบบอยู่ให้ลึกซึ้ง และสามารถมองเห็นคุณค่าของข้อมูลในแต่ส่วนว่าสามารถนำไปใช้งานหรือหาองค์ความรู้อะไรได้บ้างในอนาคตโดยสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และสภาพการแข่งขันทางธุรกิจของหน่วยงาน นอกเหนือจากการทำความเข้าใจในงานของผู้ใช้ระบบสารสนเทศนั้นๆ แล้ว การเข้าใจเทคนิคต่างๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะสามารถช่วยให้การออกแบบลักษณะของข้อมูลทำได้ถูกต้องมากขึ้น รวมทั้งต้องเข้าใจเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ เป็นอย่างดี เพื่อให้สามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเพิ่มคุณภาพของข้อมูล หากผู้ออกแบบระบบสารสนเทศมีคุณลักษณะดังกล่าว จะทำให้ระบบสารสนเทศที่พัฒนาสามารถรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และเกี่ยวข้องกับการแข่งขันทางธุรกิจเพื่อนำมาหาองค์ความรู้ ซึ่งแน่นอนหน่วยงานก็จะเกิดความคุ้มค่าในการลงทุนในการพัฒนาระบบสารสนเทศต่างๆ นับเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ระบบสารสนเทศจึงเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความชาญฉลาดทางธุรกิจให้กับหน่วยงานนั่นเอง

source : http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9580000109013

Friday, October 9, 2015

Thc - Systems Thinking Workshop : Activity Plan

Systems Thinking

Systems Thinking can mean different things to different people. It is more than just a set of tools : Causal loop diagram, …

It could mean a sensitivity to the circular nature of the world we live in;  an awareness of the role of structure in creating the conditions we face; a recognition that there are powerful laws of systems operating that we are unaware of; a realisation that there are consequences to our actions that we are oblivious to.

Systems Thinking  is a disciplined approach for examining problems more completely and accurately before acting. It allows us to ask better questions before jumping to conclusions.

Systems Thinking often involves moving from observing events or data, to identifying patterns of behaviour over time, to surfacing the underlying structures that drive  those events and patterns

Systems thinking perspective requires Curiosity, Clarity, Compassion, Choice and Courage.

Why Use Systems Thinking?
It expands the range of choices available for solving a problem by broadening our thinking and helping us articulate problems in new and different ways.

Principles of systems thinking make us aware that there  are no perfect solutions; the choices we make will have an impact on other parts of the system.


When Should We Use Systems Thinking?
Ideal problems or issues  for Systems Thinking
1. The issue is important
2. The problem is chronic, not a one time event
3. The problem is familiar and has a known history
4. People have unsuccessfully tried to solve the problem before

Where should we Start?
When beginning to address the issue, Avoid assigning Blame!!!  e.g. People often come late to the training. Therefore these people are at fault.

Instead, focus on items that people seem to be glossing over and try to arouse the group’s curiosity about the problem under discussion. e.g. Asking question “What is it about this problem that we don't understand? “

----------------------------------------------------------------------------------------

Six Steps to thinking systematically

ref:  Six Steps to Thinking Systemically, Michael Goodman & Richard Karash

In the face of day-to-day pressure, groups often leap to solutions after only a modest amount of brainstorming. A systematic approach provides a structured problem solving process for digging deeper into our most vexing problem.

These six steps are

1.Tell the story
2. Draw “Behaviour Over Times” graphs.
3. Create a focusing statement - A picture of what people want and a question about why certain problems are
4. Identify the structure - Draw Causal Loop Diagram
5. Going deeper into the issues - Look at the underlying issues in order to move from understanding to action
6. Plan the intervention - Might involve adding, strengthening, removing or weakening some of the  loops in the diagram to produce desired behaviour




How to coach and facilitate systems thinking ?

Systems thinking - A language for collective inquiry, learning, and action.

It is used in a group setting in order for people to learn together - To generate knowledge and understanding beyond what any one member of the group already know.


For facilitator,
Engage, don’t convince - We want everyone to be thinking hard about the problem at hand. It is important to get everyone engaged in creating a shared understanding.  Always suspend assumption, “Presume that every view has merit”, and “Pursue differences”
Treat Theory as Theory - Each drawn causal loop diagram is like a theory that needs to be validated. The validation could be done by asking “As you see it, how does X cause Y?    What is you rational? What are the data?  Can you give me an example?    Once obtain the answer, State your point of view and share your own line of reasoning.



--------------------------------------------------------------------------------


Systems Thinking - Practicing Case #1


Apply 6 steps to think systemically 


Tell a story

Bijou Bottling Company

The Bijou Bottling Company is a well-known beverage bottling company with an equally well-known problem: constant late shipments.

The customers, major chain retailers, are looking for "orders shipped complete" and on time. Some years ago, in a U.S. region covering about six states, this problem reached crisis proportions.

At Bijou, it was usually a customer call that kicked off the crisis.
 "Where the heck are the 40 cases of 2-liter baseball tie-in product?" 
And when they called, people jumped! Somehow the goods got there in time, often with heroic efforts! 

Looking back, it seems silly, but Bijou was air-shipping heavy soda bottles at enormous costs! Everyone, from distributors to plant managers to finance to truck drivers, could see that the problem was killing them. At the same time they said, "People build their careers on getting us out at the 11th hour of some terrible mess with our customers.”

Things began to change at Bijou when they started asking themselves, "We're pretty good at solving each problem as it arises. But why are these problems recurring more often and with more intensity? What's causing them?"



Question : What is the insight the members could get from this story?


2.  Draw “Behavior Over Time” graphs

Story telling focuses mostly on current moment.

Move to “Behavior Over Time” will connect present to the past  And move from seeing the events to recognising patterns over time.

Draw One variable per graph
Time span should include Past to Present but it can also include the Future projection 
3. Create a Focusing Statement  - Help setting direction of this process

Statement reflects a picture of what people want  OR questions why the certain problems are occurring

For example, We’re pretty good at solving each problem as it arises. But why are these problems recurring with greater frequency and intensity? What is causing them?


4. Identify Structure
Draw a Causal Loop Diagram
It is an easy way to begin building theory of why and how things are happening


5. Going deeper into the issues
Look at the underlying issues in order to move from understanding to action
To try to understand the underlying issues of this system



For example, People at bottling company theorised that customers were taking problem situations and escalating them into crises in order to get the company’s attention. 








6. Plan an intervention
Use your knowledge of the system to design solution that will structurally  change it to produce the results you want.
This might take the form of adding new link or loop that will produce desire behaviour, breaking a link or loop that produces undesirable behaviour, or a combination of the two

For example, at Bijou, the key to change was realising that the problems were largely self-inflicted . They realised that they had to make progress on production/ distribution system improvement while still doing enough fire fighting to keep things afloat. In the longer term, they would need to change the reward systems that promote heroic behaviour. They also recognised the need to sustain the improvement efforts even when the pressure came off - Otherwise the problems would be back again soon.


-----------------------------------------------------------
Systems Thinking - Practicing Case #2


Spiral of Death

1. Tell a Story

Read the following article and try to understand the situation











2.  Draw “Behaviour Over Time” graphs

Story telling focuses mostly on current moment.

Move to “Behaviour Over Time” will connect present to the past  And move from seeing the events to recognising patterns over time.

Draw One variable per graph
Time span should include Past to Present but it can also include the Future projection



3. Create a Focusing Statement  - Help setting direction of this process

Statement reflects a picture of what people want  OR questions why the certain problems are occurring

On the electricity company, What would be a suitable statement?


4. Identify Structure
Draw a Causal Loop Diagram
It is an easy way to begin building theory of why and how things are happening

5. Going deeper into the issues
Look at the underlying issues in order to move from understanding to action
To try to understand the underlying issues of this system

If we were the electricity company, what is our mental model?




6. Plan an intervention
Use your knowledge of the system to design solution that will structurally  change it to produce the results you want.
This might take the form of adding new link or loop that will produce desire behaviour, breaking a link or loop that produces undesirable behaviour, or a combination of the two





----------------------------------------------------------------------------------------------------



Systems Thinking Workshop - activity plan

(duration : 3 hrs )


First  15  mins  -  Check-in activity : Activity in Systems Thinking Playbook or Any particular Brain Gym games for getting the members ready for the following activities


2.  30 mins - Reflection from “Outlearning the Wolves” 
- What do members think about the story regarding the learning organization idea?
- Go thru the given questions 

3. 45 mins - Introducing Systems Thinking through Practicing Case #1
Members (in total of 7) work in 2 - 3 and 4 people - groups

4. 1:15 hour - Working on Practicing Case #2

5. 10 mins - Debriefing activities - What do members think about Systems Thinking ?  Debrief the members about the benefits and when to use the Systems Thinking.

6. Last 5 mins - HW :  Read another learning fable story - “The Tip of the Iceberg”



Data collection : Survey : Is yours is a learning organization ?





Learning MS Power APP and FLOW

https://powerapps.microsoft.com/ro-ro/blog/microsoft-powerapps-learning-resources/