Wednesday, December 30, 2015

Elon Musk - Starting a Business







Okay, first of all I'd say starting a business is not for everyone. Generally, starting a business, I'd say, number one is have a high pain threshold. There's a friend of mine who's got a good saying which is that starting a company is like eating glass and staring into the abyss. Okay, that's generally what happens because when you first start a company there's lots of optimism and things are great. Happiness at first is high, then you encounter all sorts of issues and happiness will steadily decline, and then you will go through a whole world of hurt, and then eventually, if you succeed - and in most cases you will not succeed - and Tesla almost did succeed. It came very close to failure. If you succeed then, after a long time, you will finally get back to happiness.
I think, two, is that you've got to make sure that whatever you're doing is a great product or service. It has to be really great. To go back to what I was saying earlier, where if you're a new company - unless it's like some new industry or new market that hasn't - if it's an untapped market, then you have more ability to - the standard is lower for your product or service, but if you're entering anything where there's an existing marketplace, against large entrenched competitors, then your product or service needs to be much better than theirs. It can't be a little bit better, because then you put yourself in the shoes of the consumer and they say why would you buy it as a consumer. You're always going to buy the trusted brand unless there's a big difference. A lot of times an entrepreneur will come up with something that is only slightly better, and it can't just be slightly better. It's got to be a lot better.
Number three, I'd say, is constantly seek criticism. A well thought-out critique of whatever you're doing is as valuable as gold, and you should seek that from everyone you can, but particularly your friends. Usually, your friends know what's wrong, but they don't want to tell you because they don't want to hurt you. Yeah, they say I want to encourage my friend so I'm not going to tell him what I think is wrong with his product. It doesn't mean your friends are right, but very often they are right, and you at least want to listen very carefully to what they say.. and to everyone. You're looking for, basically, you should take the approach that you're wrong. That you, the entrepreneur are wrong. Your goal is to be less wrong.

Thursday, December 24, 2015

Constructionism - MicroWorld Workshop - SIU, Dec 14-18 2015

Constructionism

ความหมายง่ายๆ ที่ เราสามารถนึกถึงได้ จากการเข้าอบรม หรือ เฝ้าดูกิจกรรม ที่ถูกออกแบบมาด้วยหลักการนี้คือ การเรียนรู้โดยการลงมือทำ  (Learning-by-doing )

ซึ่งหากคิดไปในทางรูปแบบการเรียนรู้ ก็จะเป็น   ความรู้หรือความเข้าใจในสิ่งต่างๆนั้นเกิดจากการที่เราสร้างความรู้เหล่านี้ขึ้นมา แต่ทว่า ความเข้าใจของหลักการนี้ อย่างแท้จริง ต้องการ การทดลอง และสะท้อนความคิดตัวเองในหลายวงรอบการเรียนรู้จึงจะเข้าใจ การทำงานของหลักการการเรียนรู้นี้อย่างดี


Constructionist Learning Tools   ตารางข้างล่างนี้ เป็นตัวอย่างของเครื่องมือที่ถูกสร้างมาบนพื้นฐานของหลักการ Constructionism







 หลักการการเรียนรู้ ซึ่ง ต่อมาส่งผลให้เกิดเป็นการสร้างเครื่องมือชนิดนี้ขึ้นนั้น เกิดมา ในช่วงที่ Prof. Seymour Papert  นำการใช้ โปรแกรม Logo ซึ่งยังเป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ยังเป็นการแสดงผลด้วยตัวอักษรล้วนๆอย่างเดียวอยู่ในเวลานั้น ไป ใช้ในการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ใน รัฐ MA      แต่สิ่งที่มีส่วนส่งผล ช่วยให้ Papert พัฒนาหลักการเรียนรู้นี้  นั้นไม่ได้เกิดจาก ห้องเรียนคณิตศาตร์ แต่ เป็นการเฝ้ามองดูเด็กทำงานศิลปะในชั่วโมงศิลปะของโรงเรียน 
Papert สังเกตุว่า การเรียนในวิชา คณิตศาสตร์ นั้น เด็กๆ จะได้รับ มอบหมายให้ทำแกาแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เล็ก มากมาย ซึ่ง พวกเด็กก็ดูว่าจะสามารถทำได้อย่างดีบ้าง ไม่ดีบ้าง  เด็กๆก็ไม่แสดงออกถึงความสนุกสนานในการเรียนในห้องเรียน

ซึ่งต่างกับ ผลงานในวิชาศิลปะ ที่เขาเฝ้าดู เด็กๆที่ทำการแกะสลักสบู่ ออกมาได้อย่างสวยงาม และสนุกสนาน  ซึ่งงานแต่ละชื้น ถูกออกแบบมาจากจินตนาการของเด็กๆ และแต่ละชิ้น ต้องใช้เวลาในการแกะสลักต่อเนื่องเป็นเวลาหลายสัปดาห์

ซึ่งการให้เวลาในการทำงานนี้  ทำให้เด็กๆมีเวลาที่จะ คิด  จะจินตนาการ  จะหาแนวคิดใหม่ๆ ที่เขาสามารถลอง   สามารถเปลี่ยนแนวคิดใหม่ จากแนวคิดเดิม   สามารถที่จะพูดคุยแลกเปลี่ยนความเห็นกับเพื่อนๆ  ดูผลงานของเพื่อนๆ และ ฟังความเห็นของเพื่อนๆต่อผลงานของตน    ซึ่งแตกต่างจากสิ่งที่เกิดในห้องเรียนคณิตศาสตร์อย่างสิ้นเชิง

จากการสังเกตุนี้เองทำให้เขาคิดที่จะสร้าง  “Soap-Sculpture Math” หรือวิชาคณิตศาสตร์แบบการแกะสลักสบู่ ขึ้นมา



เครื่องมือ  Microworld
จะเห็นว่า MicroWorld นั้น สามารถทำให้เกิด สภาวะในการทำงาน แบบเดียวกับ ที่เกิดขึ้น การห้องเรียนวิชาศิลปะที่ให้เด็กๆทำการแกะสลักสบู่
ในการเลือกหัวข้อโครงงานที่จะทำด้วย MicroWorld นั้น ผู้เรียนจะต้องคิด จินตนาการ หาหัวข้อที่จะทำขึ้นมาเอง  เช่น เดียวกับการที่เด็กๆก็ทำการแกะสลักสบู่ ออกมาเป็น รูปแบบที่เขาคิดจินตนาการมาเองเช่นกัน  ทำให้ ทุกคนได้ทำงานที่ตัวเองอยากทำ ซึ่งทำให้ทุกคนมี พลังที่จะคอยผลักดันตัวเอง ให้ทำงานให้สำเร็จ แม้ว่าจะต้องเจอกับอุปสรรค ในระหว่างการทำงาน


ในการแกะสลักสบู่ เด็กๆจะใช้มีดในการ แกะสลักสบู่ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่เขาอยากจะเห็น  ในส่วนของ MicroWorld ผู้เรียนจะต้องใช้ การคิดในวิชาคณิตศาสตร์ และ ความเข้าใจในทางเรขาคณิต  ในการสร้างโครงงานที่เลืกออกแบบขึ้นมา

โดยที่ทั้ง งานการแกะสลักสบู่ และ MicroWorld workshop  เด็กๆและผู้เรียน ก็จะมีเวลาในการทำงานเพียงพอ ที่จะ ให้ผู้เรียนนั้น สามารถ คิดจินตนาการ ทดลองแนวคิด เปลี่ยนแบบ  พูดคุยกับเพื่อนๆ  ฟังความเห็นซึ่งกันและกัน

[ ในระหว่างการทำงาน ใน MicroWorld workshop ผู้เรียนจะมีโอกาสในการสะท้อนความคิดให้เห็นถึงการทำงานของตัวเอง ที่บางคน ก็จะพยายามแก้ปัญหาที่มีด้วยตัวเองโดยไม่ถามหรือคุยกับคนอื่น   บางคนก็ใช้การคุย แลกเปลี่ยนความเห็นกับคนข้างๆ เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาที่เจอ   บางคนก็ขอให้คนอื่นมาช่วยเหลือ  ซึ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นการทำงานของเรา ว่าเรามี EGO ที่ส่งอาจจะส่งผลการทำงานเป็นทีมหรือไม่    ว่าเราชอบที่จะมองหาคนที่ต้องการความช่วยเหลือ และรีบเข้าไปช่วยหรือไม่ หรือ อื่นๆ ]




 ในการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้แบบนี้  ทำให้ผู้เรียน มุ่งความสนใจไปที่ การแก้ปัญหาหรือทำงานที่ตัวเองมีความสนใจ หรือ มีความหมายกับตัวเอง ซึ่งในระหว่าง การทำงาน ก็จะต้องมีการทำการเรียนรู้ วิธีการ ความคิด ความรู้ ใหม่ๆ เพื่อที่จะทำให้ผู้เรียนสามารถที่จะทำงานได้ประสบความสำเร็จ     โดยที่ในระหว่างการทำงานก็มีการแสวงหาโอกาสที่จะแลกเปลี่ยนความเห็นที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของตนกับคนอื่นๆ ที่มีพื้นฐานแตกต่าง หลากหลาย   เพื่อนำมาปรับปรุง การทำงานของตน อยู่เสมอ  และที่สำคัญ ในระหว่างการทำงาน  Facilitator จะมีบทบาทสำคัญที่จะส่งเสริมให้ขบวนการนี้ มีการเรียนรู้เกิดขึ้นไปพร้อมๆกับการทำงาน เพื่อไม่ให้ เมื่อโครงการจบแล้ว ผลที่ได้จะไม่ใช่ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์เพียงอย่างเดียว  แต่เป็นการเรียนรู้ ที่เพิ่มความสามารถ ความรู้หรือทักษะใหม่ ให้กับคนทำงานด้วย 

ซึ่งเมื่อพิจารณาดูตามหลักคิดนี้แล้ว  การออกแบบวิธีการเรียนรู้นี้นั้น สามารถเกิดขึ้นได้ ในการทำงานปกติทั่วไปของบริษัทเช่นกัน







“Constructionism is not interested in pitting serious against playful, but instead finds way to live at the intersection of the two”  Paulo Blikstein (2015)


[ Constructionism นั้นไม่ได้ที่จะ เลือกให้ความสำคัญระหว่าง การทำงานที่มีความจริงจัง กับ ความสนุกในการทำงาน เพื่อให้งานนั้นๆประสบความสำเร็จ   แต่เป็นหลักการที่ยืนอยู่บนจุดสมดุลของทั้งสองด้าน ]

Monday, December 21, 2015

Carpcomm: How to build a satellite receiving station using a...

Carpcomm: How to build a satellite receiving station using a...: Space and satellites are something that only few people are fortunate enough to interact with. However, this is starting to change due to ...

Thursday, December 17, 2015

Community Shop at Ban Sam Kha : Lessons learned from Aj.Suchin

Community Shop at BanSamKha


It took more than the utilization of the technology and the trainned knowledge/ skills to set up a grocery store like the one at BanSamKha. What BanSamKha's Community Shop gives to the BanSamKha villagers is more than the groceries or the consumables commonly found in the usual grocery store.


It gives the opportunity to learn to the villagers.


Aj.Suchin shared his experience that
At this community store, the villager was given a chance to develop literacy and learning skills through the need to do the accounting and to manage the shop.
Of course, if we were to give the computing machine or any other machine which would help the villagers to do these tasks, the villager might handle the task easier. However we would take away the opportunity to learn from them in return.


From this case, it appeared that the villager who recieved this chance has developed her literacy and learning skills. From this point, her confidence in learning and doing things have gradually been developed and she appeared to be able to handle more and complicated task/ problems like planning and managing her other small businesses and also the farming.


Furthermore, the shop was set up to give the people in the community chances to learn from each other.
For example, if the shop were to put in the liquers and cigarettes on the shelves in the store, the shop would gain some cashes from selling these addictive items but the community will surely receive the damages resulting from the consumption of these products. Therefore to decide what to sell, or what not to will be carefully planned from the villagers' habits and culture.


The point that is really important is that if it is right to always rely on the technology to do things or to make the system more productive. Sometimes waiting to use the technology at the right time would bring much better outcomes from the system of interest. Human factor is the one that could not be overlooked.


Question: Can we call the communicaty shop at BanSamKha  a social enterprise?

Tuesday, December 1, 2015

Success Case Method - Interviewing Technique : Filling Buckets

Filling Buckets - Protocol Conceptual Model

จากความต้องการที่จะเก็บข้อมูล (Qualitative data)  จาก การ interview  มีความจำเป็นที่จะต้อง ทำให้แน่ใจว่า ในแต่ละการ Interview  เราจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนที่สามารถจะนำมาสรุปเป็น success story ได้  โดยที่เราจะไม่ขาดข้อมูลในส่วนใดๆไปเลย  ซึ่งการทำแบบนี้ มีวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยได้ คือ  ในระหว่าง การ Interview เราต้องมี List  ของกลุ่ม ข้อมูล ที่เราต้องการจะได้ และพยายาม inetrview เพื่อหาข้อมูล ในแต่ละด้าน     เราสามารถ imagine process นี้ได้เหมือนกับ การพยายาม หาข้อมูลมาใส่ ในถัง ที่ แสดงถึง ข้อมูลในแต่ละด้านที่เราต้องการ และ เมื่อเราสามารถหาข้อมูลมาใส่ในถังเหล่านี้ได้เต็มหมดแล้ว  ก็ ถือว่า การ interview เสร็จสมบูรณ์

จาก Success case method ได้เสนอว่าในการ interview จะสามารถแบ่งกลุ่มข้อมูลที่เรา ต้องการได้ดังนี้

สำหรับ  Success cases / factors







สำหรับ Non Success cases / factors





สำหรับแต่ละกลุ่มข้างบน มีรายละเอียดคำอธิบาย หรือ ตัวอย่างคำถาม ดังนี้
สำหรับ Success cases/ factors
1.What was Used?   เราต้องการรู้ว่า ผู้เรียน ได้มีความรู้สึกอย่างไร มี การใช้อะไร  เมื่อไร  อย่างไร ใช้เครื่องมือใดหรือได้รับประสบการณ์อะไร เมื่อไร ที่ไหน ที่ทำให้ เกิดความสำเร็จนี้เกิดขึ้น    มีหลักฐานอะไรไหมที่สนับสนุน สิ่งที่ ผู้เรียน ให้ความเห็นมา  เช่น  รูปถ่าย  คำพูดหรือความคิดของตัวเองต่อคนอื่น     คำสัมภาษณ์ จากคนอื่นๆ หรือ ...
2.What results were achieved?   ผลลัพธ์อะไร ที่ผู้เรียน ได้รับหรือ แสดงให้เห็นออกมา จากการที่ใช้ สิ่งที่บอกมาจาก ข้อ 1     ผลลัพธ์ที่แสดงออกมานี้มีความแตกต่างกับ ปัจจัย หรือ องค์ประกอบที่ใกล้เคียงกัน  ที่เกี่ยวกับผู้เรียนในอดีตอย่างไร    ผู้เรียนรู้ได้อย่างไรว่า มีการเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้น  หรือใครเป็นผู้สังเกตุเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงนี้  แล้ว คนนี้ ให้ feedback หรือ  comment กับผู้เรียนอย่างไร และมีอะไร  และผู้เรียนคิดอย่างไรกับ comment นี้     มีหลักฐานอะไรไหมที่สนับสนุน สิ่งที่ ผู้เรียน ให้ความเห็นมา  เช่น  รูปถ่าย  คำพูดหรือความคิดของตัวเองต่อคนอื่น     คำสัมภาษณ์ จากคนอื่นๆ หรือ ...
3.What good did it do?    ทำไมผลลัพธ์ที่ได้นี้ มีความแตกต่าง หรือ มีความสำคัญ     มันส่งจะผลต่อสิ่งใดในอนาคตไหม   มี ปัจจัย ลบ ใดๆไหม ที่ถูก สิ่งที่บอกมาจากข้อ 1  มาทำให้ลดความสำคัญหรือหายไป
4.What helped?   มีปัจจัย หรือ สิ่งใดไหม ที่อยู่รอบๆตัวผู้เรียนที่ ช่วยผู้เรียนให้ ประสบผลสำเร็จนี้     มีแรงกระตุ้น  รางวัล เป้าหมาย อื่นใดไหม ที่ ส่งผลต่อความสำเร็จนี้      ในส่วนความช่วยเหลือจากคุณครู  หรือ คนรอบๆข้าง  มีส่วนอย่างไร ต่อความสำเร็จนี้ หรือ มีส่วนที่เป็นอุปสรรคไหม       มีเครื่องมือใดๆ  สื่ออ้างอิงอะไร หรือ สิ่งใดไหมที่ช่วยในการทำให้เกิดความสำเร็จนี้        จากความเห็นของผู้เรียน มี อะไร ที่ทำให้ผู้เรียน ใช้เครื่องมือ หรือ สิ่งต่างๆ ที่ช่วยให้เกิดความสำเร็จนี้ แล้วทำให้เกิดความสำเร็จ เมื่อเทียบกับคนอื่นที่ใช้ สิ่งเดียวกัน แต่ไม่ประสบความสำเร็จดังที่เห็นนี้    มีปัจจัย เหตุการณ์ หรือ สิ่งใดไหม ที่ทำให้ผู้เรียนมีความรู้สึกที่จะมุ่งไปสู่เป้าหมายที่สำเร็จนี้ 
5.Suggestions?  สำหรับผู้เรียน  มีความเห็นใดๆไหมเกี่ยวกับ เครื่องมือ  แหล่งข้อมูล  แรงกระตุ้น  การฝึก หรือ ปัจจัยอื่นๆ  ที่หากผู้เรียนได้รับ จะทำให้ ผู้เรียนทำได้ดีกว่านี้ หรือ มีความสำเร็จที่เห็นชัดกว่านี้      สำหรับผู้เรียน  จากการสัมภาษณ์นี้  มีความใดไหม ต่อผู้สัมภาษณ์ ที่จะทำให้ได้ข้อมูลที่มากขึ้น  หรือ มีประโยชน์มากขึ้น เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป



สำหรับ non success cases/ factors
1.Barrier  คำถาม จะถามเพื่อหา ว่าผู้เรียนคิดว่า สิ่งที่ไม่ประสบความสำเร็จนี้ เป็นเพราะผู้เรียน ใช้เครื่องมืออะไร  มีพื้นฐานความคิด หรือ สมมติฐานใดที่ทำให้ผู้เรียน ไม่สามารถทำสิ่งที่คาดไว้ได้
2.Suggestions    สำหรับผู้เรียน  มีความเห็นใดๆไหมเกี่ยวกับ เครื่องมือ  แหล่งข้อมูล  แรงกระตุ้น  การฝึก หรือ ปัจจัยอื่นๆ  ที่หากผู้เรียนได้รับ จะทำให้ ผู้เรียนทำได้ดีกว่านี้    




โดยก่อนทำการ Interview นี้ ผู้สัมภาษณ์ ต้อง ระบุออกมาก่อนว่า สิ่งใด หรือ ปัจจัย ใด ที่ ถือว่าเป็นความสำเร็จ Success หรือ ความล้มเหลว non success   เพื่อที่จะทำการ Interview ตาม protocol ข้างต้น เพื่อ หาข้อมูลมาให้ได้  แล้วจะได้นำมาสรุปเป็น success story หรือ non success story ต่อไป






Learning MS Power APP and FLOW

https://powerapps.microsoft.com/ro-ro/blog/microsoft-powerapps-learning-resources/